Page 9 - 02_สทธมนษยชนกบการปฏบตงานของตำรวจ_Neat
P. 9

๒




              ตอตาน ขัดขืน และยอมรับ ตราบจนปจจุบันประเด็นเกี่ยวเนื่องกับสิทธิมนุษยชนก็ไมหยุดนิ่ง
              แนวคิดสิทธิมนุษยชนยังคงเคลื่อนไหวเปนพลวัตอยูเสมอ

                         หากจะศึกษาความเปนมาของสิทธิมนุษยชน  คงตองเริ่มจากการทําความเขาใจ
              ในปรัชญาวาดวยÊÔ·¸Ô¸ÃÃÁªÒμÔ  (Natural rights) อันเปนรากฐานสําคัญยิ่งของสิทธิมนุษยชน

              โดยใหความสําคัญสูงสุดแก “คุณคาของชีวิตมนุษย” ในบทนี้ขออธิบายพัฒนาการความเปนมา
              ของสิทธิมนุษยชน โดยอางอิงประวัติศาสตรยุคตางๆ ของโลกเปนจุดเชื่อมการอธิบายสภาพสังคม

              ชีวิต ความคิด ความเชื่อ อันสงผลตอกําเนิดและพัฒนาการของสิทธิมนุษยชน ซึ่งจะชวยฉายภาพ
              ใหเห็นทั้งความกาวหนา และความเสื่อมถอยของแนวคิดสิทธิมนุษยชนในหวงเวลาตางๆ ไดแก

              ยุคกรีกและโรมัน, ยุคกลาง และยุคใหม























                                        ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃÊÔ·¸ÔÁ¹Øɪ¹àª×èÍÁ⧡ѺÂؤÊÁÑÂμ‹Ò§æ



              Âؤ¡ÃÕ¡áÅÐâÃÁѹ (Greek and Roman Era) : àÁ×èͪÕÇÔμ໚¹¢Í§¼ÙŒÍ×è¹

                                ๑
                         ยุคกรีก  นับเปนยุคประวัติศาสตรสําคัญตอการกอกําเนิดอารยธรรมตะวันตก มีหลักฐาน
              ชัดแจงวายุคนี้ปรากฏรากฐานของแนวคิดสิทธิมนุษยชนขึ้น โดยมีแนวคิดสําคัญที่เกี่ยวพันสิทธิ

              พื้นฐานของความเปนมนุษย (Fundamental human rights) ในชื่อที่นักปรัชญาในยุคนั้นเรียกวา
              “ÊÔ·¸Ô¸ÃÃÁªÒμÔ (Natural Right)” โดยมีความเชื่อเบื้องตนวา ธรรมชาติของคนมีเหตุและผล

              สิทธิตางๆ เกิดขึ้นมาตามธรรมชาติ ดวยเหตุที่ธรรมชาติเปนสิ่งสากลและอยูเหนือมนุษย กฎหมาย
              ธรรมชาติจึงอยูเหนือกฎหมายของมนุษยและใชไดไมจํากัดเวลาหรือสถานที่

                         การศึกษาหัวขอสิทธิมนุษยชนนั้น สวนใหญจะนับเอาแนวคิด ÊÔ·¸Ô¸ÃÃÁªÒμÔ นี้เปนจุดเริ่มตน
              อางถึงพัฒนาการของสิทธิมนุษยชน อยางไรก็ดี แนวคิดสิทธิธรรมชาติมีความเปนนามธรรมอยางสูง




              ๑  จุดเริ่มตนของยุคกรีกไมไดถูกระบุอยางชัดเจน บางวาเริ่มราว ๑,๐๐๐ ปกอนคริสตกาล เรื่อยมาจนถึง ๘๐๐ ปกอนคริสตกาล
                และสิ้นสุดลงเมื่อเขาสูยุคโรมัน
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14