Page 13 - 02_สทธมนษยชนกบการปฏบตงานของตำรวจ_Neat
P. 13

๖




              Âؤ¡ÅÒ§ (The Middle Ages) : ª‹Ç§àÇÅҢͧ¤ÇÒÁÁ×´Á¹

                         กอนที่ความคิด “สิทธิธรรมชาติ” จากยุคกอนจะไดรับการตอบรับจากผูคนในสังคมวงกวางขึ้น
              ยุโรปเดินหนาเขาสูยุคที่ชุดความคิดหลักผูกติดกับ “พระเจา” หมายความวาผูคนตางพากันเชื่อวา

              พระเจาคือเหตุผลของทุกสรรพสิ่ง (Supremacy of God) การเกิด การมีชีวิต จนกระทั่งการตาย
              ถูกกําหนดโดยพระเจา แมแตธรรมชาติอยางพระอาทิตยขึ้น ฝนตก แผนดินไหว ฟารอง ก็อธิบาย

              ไดดวยอิทธิฤทธิ์ของพระเจา สภาพสังคมในยุคกลางจึงถูกเรียกขานในภายหลังวาเปรียบเสมือน
                     ๑๒
              “ยุคมืด” เพราะมีเพียงพระผูเปนเจาเทานั้นที่เปนคําตอบของทุกสิ่ง คนสวนใหญก็เชื่อมั่นวาพระเจา
              จะชวยใหมีชีวิตที่ดีขึ้น ทําไมจึงเปนเชนกัน ก็เนื่องดวยสภาพสังคมที่มีภัยสงครามจากหลายกลุมเหลา
              ความแรนแคน เศรษฐกิจตกตํ่า สภาพสังคมไรระเบียบ คนจึงพรอมจะใชศรัทธาที่มีตอศาสนา

              มายึดนําชีวิต
                         การใหความสําคัญกับ “คุณคาของมนุษย”  ในชวงยุคที่ผานมาจึงถูกแทนที่ดวย

              ความสําคัญของพระผูเปนเจาและเหลานักบวช ผูมีพฤติกรรมไมสอดคลองกับความเชื่อของคริสตจักร
              ถูกจัดใหเปนพวกนอกรีตเปนเหลาพอมด-แมมดที่มีความชั่วรายที่สมควรถูกทําลาย “สิทธิธรรมชาติ”

              ที่มนุษยแตละคนมีติดตัวมาแตเกิดเปนสิ่งเหลวไหล  เพราะมนุษยเกิดไดดวยบัญชาจาก
              พระผูเปนเจา มีการกลาวอางพระคัมภีรใหม (New Testament) เนนยํ้าวาพระเจาสรางทุกสรรพสิ่ง

                                                                ๑๓
              แมแตรัฐและรัฐบาลลวนรับมอบอํานาจมาจากพระเจา  นักบวชคนสําคัญ เชน นักบุญออกัสติน
              (St.Augustine, ๓๕๔-๔๓๐) ผูประพันธงานชิ้นเอกที่ใชชื่อวา “City of God”  ก็ระบุชัดถึง

              ความเชื่อวา แมโดยธรรมชาติมนุษยมีความเสมอภาค แตมนุษยนั้นมีบาปจึงตองถูกปกครองตัวแทนของ
              พระเจาหรือผูที่เชื่อมั่นในคริสตจักรเทานั้นที่จะมาเปนผูปกครองเพราะสามารถลางบาปและนํามา

              ซึ่งความสุขได ทํานองเดียวกันกับนักบุญโธมัส อไควนัส (St.Thomas Aquinas, ๑๒๒๖-๑๒๗๔)

              ที่เชื่อวาผูนําคริสตจักรควรเปนผูนําการปกครอง และประชาชนตองเชื่อผูนํา บทบาทของคนทั่วไป
              จึงเปนเพียงผูตามและยอมใหชะตาชีวิตถูกกําหนดโดยบุคคลบางกลุมที่เชื่อวามีฐานะสูงสงกวา
                         เห็นไดชัดวาในยุคนี้ ผูปกครองทั้งทางโลกคือกษัตริย และทางธรรมคือนักบวช ลวนแตเปน

              ตัวแทนของพระเจา กฎหมายบานเมืองกับหลักศาสนาถือเปนสิ่งเดียวกัน สังคมในยุคนี้ไมไดเชื่อมโยง

              กับความตองการของปุถุชนหรือใหคุณคาแกประชาชน อาจกลาวไดวาเจตนารมณแหง “สิทธิธรรมชาติ”
              ถูกบดบังดวยคําอธิบายวาธรรมชาติตองสอดคลองกับหลักศีลธรรมและหลักศาสนาเปนสําคัญ
              นั่นแสดงถึงความเชื่อสูงสุดตอคริสตจักร






              ๑๒  ยุคนี้กินระยะเวลานาน ตั้งแตราวศตวรรษที่ ๕ ถึงศตวรรษที่ ๑๕ หรือรวม ๑,๐๐๐ ป นับแตป ค.ศ.๔๐๐ ถึงป ค.ศ.๑๔๐๐
              ๑๓  สโรช สันตะพันธุ, “บทบาทของคริสตศาสนจักรโรมันคาธอลิกในระบบการเมืองยุโรปยุคกลาง,” เครือขายกฎหมายมหาชนไทย (๒ พฤษภาคม
                ๒๕๔๘), สืบคนเมื่อ ๔ ตุลาคม ๒๕๕๙, จาก http://www.pub-law.net/publaw/view.aspx?id=767
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18