Page 18 - 02_สทธมนษยชนกบการปฏบตงานของตำรวจ_Neat
P. 18

๑๑




                                 (๒)  ใหสิทธิแกพลเมืองและปจเจกชนมากยิ่งขึ้น ๒๑
                                 (๓)  กลายเปนตนแบบใหกับกฎหมายของหลายประเทศ เชน บทบัญญัติวาดวยสิทธิ

                 เสรีภาพ (Bill of Rights, ๑๗๙๑) ของรัฐธรรมนูญอเมริกัน, ปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน
                 แหงสหประชาชาติ (Universal Declaration of Human Rights, ๑๙๔๘) และอนุสัญญาวาดวย

                 การปกปองสิทธิมนุษยชนของยุโรป (European Convention of Human Rights, ๑๙๕๐)
                            (ò) ¡Òû¯ÔÇÑμÔÍàÁÃÔ¡Ò (The American Revolution)

                                 ดินแดนที่เปนประเทศสหรัฐอเมริกาในปจจุบัน เดิมเปนผืนดินของคนทองถิ่น
                 (Indians) ตอมาราวทศวรรษที่ ๑๗๐๐ ไดมีผูอพยพยายถิ่นจํานวนมากจากยุโรปลองเรือมาขึ้นฝง

                 เพื่อแสวงหาโอกาสใหมแกชีวิต รัฐบาลอังกฤษไดขยายอํานาจการปกครองตามไป รวมถึงขยายตลาด
                 ระบายสินคาไปยังดินแดนหางไกลนี้ ทายที่สุดประชากรอังกฤษก็เพิ่มจํานวนหมื่นเปนเรือนแสนเรือนลาน

                 ชาวอาณานิคมที่เคยคาดฝนวาจะมีชีวิตที่อิสระเสรีกลับยังคงอยูภายใตการปกครองของกษัตริยอังกฤษ
                 ไมตางจากเดิม

                            ͹Öè§ »˜ÞËÒÍѹนําÁÒÊÙ‹¡ÒÃàÃÕ¡ÌͧÍÔÊÃÀÒ¾¨Ò¡Íѧ¡ÄÉÁÕÊͧ»ÃÐà´ç¹สํา¤ÑÞ ¤×Í

                            (๑)  ในทางการเมือง ประชาชนของอาณานิคมแหงนี้ไมไดรับสิทธิในฐานะพลเมือง
                 อยางเต็มที่ประกายความคิดเรื่อง “สิทธิธรรมชาติ” ที่มองวาคนเกิดมามีความเทาเทียม ครุกรุนเสมอมา
                 ดังคําพูดอันโดงดังของ แพทริก เฮนรี (Patrick Henry, ๑๗๓๖-๑๗๙๙) ที่วา “give me liberty or give

                 me death” [ใหเสรีภาพแกฉันหรือใหฉันตาย]

                            (๒)  ปญหาสําคัญที่จุดปะทุใหเกิดความแตกหักเปนเรื่องของเศรษฐกิจ เนื่องจากนโยบาย
                 ที่ไมเปนธรรมหลายเรื่องของรัฐบาลอังกฤษ เชน การออกกฎหมาย Stamp Act ป ๑๗๖๕ เพื่อเก็บภาษี

                 กระดาษ เชน หนังสือพิมพ แผนพับ แสตมป เปนตน ซึ่งถูกตอตานจนตองยกเลิกการใชบังคับในป
                 ถัดไป, การเก็บภาษีใบชา โดย Tea Act ป ๑๗๗๓ ที่ทําใหชาวอาณานิคมเสียเปรียบในการคาใบชา

                 จนเกิดเหตุการณ Boston Tea Party  ชาวอาณานิคมมีความรูสึกวาการตองจายภาษีจํานวนมาก
                                                   ๒๒
                 หลอเลี้ยงกองกําลังของรัฐบาลอังกฤษ แตกลับไมมีสิทธิมีเสียงเทียบเทาชาวอังกฤษ ราษฎรอาณานิคม

                 ไมมีผูแทนราษฎรในรัฐสภา จึงเปนที่มาของการประทวงไมจายภาษีใหแกรัฐบาลอังกฤษ ดวยคําพูดที่วา
                 “ไมขอจายภาษี หากปราศจากตัวแทน” [no taxation without repersentation]

                                 ความไมพอใจรัฐบาลอังกฤษที่ถูกสะสมมาอยางตอเนื่อง นําไปสูการตอสูถึงขั้นเขาทํา
                 สงครามกัน โดยเริ่มตั้งแตดินแดนอาณานิคม ๑๓ รัฐรวมกันมีคําประกาศอิสรภาพ (The Declaration of



                 ๒๑  อยางไรก็ตาม เฉพาะคนที่มีเสรีภาพ (Free man) เทานั้นที่อยูในความคุมครองของมหาบัตร โดยเฉพาะบรรดาขุนนางและนักบวชดูจะได
                   ประโยชนจากการนี้มากอยูพอสมควร ยังมีคนอีกเปนจํานวนมากซึ่งไมไดรับการคุมครอง ดู ธเนศ อาภรณสุวรรณ, กําเนิด
                   และความเปนมาของสิทธิมนุษยชน, (กรุงเทพฯ: โครงการจัดพิมพคบไฟ, ๒๕๔๙) หนา ๖๒-๖๓.
                 ๒๒  เหตุการณขางตนเกิดขึ้นในวันที่ ๑๖ ธันวาคม ค.ศ.๑๗๗๓ เมื่อชาวอเมริกัน ๑๕๐ คน บุกขึ้นไปบนเรือบรรทุกใบชาที่จอดเทียบทา
                   อยูเมืองบอสตัน และเทใบชาทิ้งลงทะเลเพื่อประทวงการเก็บภาษีใบชา
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23