Page 20 - 02_สทธมนษยชนกบการปฏบตงานของตำรวจ_Neat
P. 20

๑๓




                                 การแกไขเพิ่มเติมครั้งที่ ๒ :  สิทธิของประชาชนที่จะมีและถืออาวุธจะถูกขัดขวางมิได
                                 การแกไขเพิ่มเติมครั้งที่ ๔ :  ประชาชนจะถูกตรวจคนหรือยึดทรัพยสินโดยไมมีเหตุอันควร

                                                          มิได
                                 การแกไขเพิ่มเติมครั้งที่ ๖ :  ในคดีอาญา จําเลยมีสิทธิที่จะไดรับการพิจารณาคดี

                                                          อยางรวดเร็ว และเปดเผย
                                 การแกไขเพิ่มเติมครั้งที่ ๘ :  สิทธิในเรื่อง หามกําหนดคาประกันชีวิตหรือคาปรับสูงเกินควร

                                                          และหามการลงโทษซึ่งรายแรงผิดปกติวิสัย
                            (ó) ¡Òû¯ÔÇÑμÔ½ÃÑè§àÈÊ (French Revolution)

                                 การปฏิวัติฝรั่งเศสเกิดขึ้นหลังการประกาศอิสรภาพของสหรัฐอเมริกาเปนเวลา ๑๐ ป
                 ลักษณะรวมที่สําคัญคือ ˹Öè§ ผูปกครองคือ พระเจาหลุยสที่ ๑๖ (King Louis XVI, ๑๗๕๔-๑๗๙๓)

                 ไมสามารถปกครองอยางเปนธรรมได กอปรกับการใชจายที่ฟุมเฟอยของราชสํานัก Êͧ สภาวะ
                 เศรษฐกิจที่ฝดเคือง โดยเฉพาะรายจายของรัฐจากการทําสงคราม สรางความเดือดรอนแกประชาชน

                 ประชาชนไรอาชีพแตคาครองชีพกลับสูงขึ้น และ ÊÒÁ อิทธิพลของอุดมการณ “สิทธิธรรมชาติ”

                 ถูกหยิบยกขึ้นมาอางเพื่อเปลี่ยนแปลงอุดมการณดั้งเดิม ๒๗
                                 ขบวนการลุกฮือครั้งนี้เปนไปเพื่อลมระบอบเกา เหตุการณสําคัญอันเปนสัญลักษณ
                 ถึงชัยชนะของการปฏิวัติคือ การบุกพังทลายคุกบาสตีย (Bastille) ที่ใชสําหรับคุมขังนักโทษ

                 การเมือง และออกประกาศสิทธิมนุษยและพลเมือง (Declaration of the Rights of Man and of the

                 Citizen, ๑๗๘๙) เมื่อวันที่ ๒๖ สิงหาคม ในปเดียวกัน ตอกยํ้าความสําคัญทั้งในแงสิทธิของปจเจกชน
                 (Individual rights) และของกลุม (Collective rights)

                                 ประกาศดังกลาวมี ๑๗ ขอ เปนผลโดยตรงของแนวคิด “สิทธิธรรมชาติ” และปรัชญา
                 การเมืองและกฎหมายในยุคการรูแจง เชน เรื่องสัญญาประชาคม (Social contracts) มีเนื้อหา

                 ระบุถึงสิทธิเสรีภาพของประชาชนในดานตางๆ เอาไวมากมาย ดวยเพราะตองการแกไขปญหาจากการ
                 ใชอํานาจปกครองตามอําเภอใจ อาทิ

                                 ขอ ๑ : มนุษยทุกคนเกิดมา และดํารงอยูอยางมีอิสระและเสมอภาคกันในสิทธิ
                                 ขอ ๒ : วัตถุประสงคของสังคมการเมืองทุกสังคมยอมเปนไปเพื่อการคุมครองรักษาสิทธิ

                                         ตามธรรมชาติ
                                 ขอ ๕ : สิ่งใดที่ไมมีกฎหมายหาม ใครจะมาหามไมใหทํายอมไมได

                                 ขอ ๖ : กฎหมาย คือ เจตนารมณรวมกันของประชาชน





                 ๒๗  สรุปจาก “French Revolution,” New World Encyclopedia, สืบคนเมื่อ ๑๙ ตุลาคม ๒๕๕๙, จาก http://www.newworidency-
                  clopedia.org/entry/French_Revolution
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25