Page 16 - 02_สทธมนษยชนกบการปฏบตงานของตำรวจ_Neat
P. 16

๙




                                 ขางตนถือเปนพื้นฐานแนวคิดอุดมการณการเมืองในยุคนี้ เชน จัง จาค รุสโซ (Jean
                 Jacques Rousseau, ๑๗๑๒-๑๗๗๘) ใหความเห็นไวในงานเขียน “The social contract” วา

                 ผูปกครองไมใชผูใชอํานาจในนามพระเจา แตเปนไปตามเจตนารมณของประชาชน (The general will)
                                 อันที่จริงสภาพสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองสงผลซึ่งกันและกันอยางมีนัยสําคัญ

                 ชนชั้นใหมอยางพอคาวาณิชหรือผูมีความรูไมไดกระจุกตัวอยางในอดีต ผลักดันใหสังคมตอง
                 คลี่คลายอํานาจจากกลุมคนชั้นสูงลงสูคนสวนใหญ ซึ่งสวนหนึ่งสะทอนผานความคิดของนักปรัชญา

                 หลายทาน ซึ่งมุงใหอํานาจแกประชาชน และสรางสังคมเขมแข็ง (Civic society) และแนนอน
                 เนนการถือครองทรัพยสินของทั่วไป พิจารณาไดจากงานเขียน “Second Treatise” ของ จอหน

                 ล็อค ซึ่งเขามองวาเปาหมายสูงสุดของสังคมการเมือง คือ การรักษาและปกปองทรัพยสิน (รวมความ
                 อยางกวางถึงทรัพยสมบัติ ชีวิต และเสรีภาพดวย) กฎหมายนั้นตองคุมครองเสรีภาพในการคาขาย

                 การแลกเปลี่ยน โดยรัฐไมกาวกาย อาจกลาวไดวาเสรีภาพทางเศรษฐกิจและเปนเสรีภาพพื้นฐานสําคัญ
                 ประการหนึ่งของยุคสมัยใหม

                            สรุปไดวาในยุคนี้ มีความรูเชิงเหตุและผลเปนแรงขับเคลื่อน โดยมีแนวคิดมนุษยนิยม

                 มาตอกยํ้าความสามารถของมนุษย นําไปสูการพัฒนาความรูทางวิทยาศาสตร ซึ่งสงผลตอการเปลี่ยนแปลง
                 ทั้งมิติทางสังคม เศรษฐกิจ และการปกครอง
                            ในอดีตผูคนไมสามารถกําหนดชีวิตตนเองได หากเปนทาสก็ตองยอมรับชะตากรรม

                 ถูกโอน ซื้อ ขาย ถูกลงโทษไดตามแตเจาชีวิตกําหนด หรือเชื่อวาพระเจาบันดาลทุกสิ่ง ไมโตแยง

                 ตอคําสอนของพระเจา เพราะไมไดมองวา “มนุษย” คือศูนยกลางของความรูแจง การปกครองกระทํา
                 โดยชนชั้นสูง ทวา เมื่อพัฒนาการของสังคมเปลี่ยนไป ผูคนเริ่มเชื่อมั่นในตนเองมากขึ้น มีความรู

                 ตอโลกมากขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่งในเชิงวิทยาศาสตร เริ่มสะสมทรัพยสินไดจากระบบเศรษฐกิจ
                 ที่ขยายตัว บวกกับเชื่อวาคนมีความเทาเทียม อันเปนผลพวงจากแนวคิด “สิทธิธรรมชาติ” เหลานี้เอง

                 ที่ทําใหประชาชนลุกฮือเพื่อสรางความเปลี่ยนแปลงและเรียกรองสิทธิของตน โดยเฉพาะในเชิงการ
                 ปกครอง เพราะนั่นเทากับสามารถกําหนดชะตาชีวิตในรูปแบบที่ตองการไดนั่นเอง

                            อยางไรก็ดี เหตุการณสําคัญที่สะทอนวาประชาชนกลาลุกขึ้นมาเปลี่ยนแปลงระบบเกา
                 กลาที่จะเรียกรองสิทธิใหแกตนเอง จนเปนตนแบบใหเกิดความเปลี่ยนแปลงในหลายพื้นที่ และเปน

                 รากฐานอันสําคัญของกฎหมายสิทธิมนุษยชนในระดับสากลในระยะเวลาตอมา ไดแก สามเหตุการณ
                 สําคัญตอไปนี้ คือ การประกาศมหาบัตร, การปฏิวัติอเมริกา และการปฏิวัติฝรั่งเศส
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21