Page 22 - 02_สทธมนษยชนกบการปฏบตงานของตำรวจ_Neat
P. 22

๑๕




                 ลูกแรกที่สหรัฐอเมริกาทิ้งลงที่เมืองฮิโรชิมา เมื่อวันที่ ๖ สิงหาคม ค.ศ.๑๙๔๕ คราชีวิตผูคนทันทีกวา
                 ๘๐๐,๐๐๐ คน ยังไมพูดถึงผลรวมที่เพิ่มขึ้นอีกหลายแสนคนภายหลังสถานการณสงบ

                                 ความรุนแรงในสงครามโลกครั้งที่ ๒ ไมวาจะดวยเหตุผลอันใด ทั้งเชิงรุกราน
                 หรือเพื่อตอบโต/ปองกันลวนแลวแตไมถูกตองเมื่อลงเอยดวยความสูญเสียชีวิตของเพื่อนมนุษยดวยกัน

                                 สงครามครั้งนี้ทําใหสังคมโลกรวมมือกันแสวงหากลไกที่จะใชในการรักษาสันติภาพ
                 ภายใตระบบกฎหมายระหวางประเทศ เพื่อปองกันมิใหประวัติศาสตรซํ้ารอย ในที่สุดจึงเกิดองคการ

                 สหประชาชาติ (United Nations) ขึ้นในป ค.ศ.๑๙๔๕ โดยมีประเทศที่รวมกอตั้ง ๕๑ ประเทศ
                 (ปจจุบันมีสมาชิก ๑๙๓ ประเทศ) และเกิดเปนขอตกลงยอมรับในหลักสิทธิมนุษยชนรวมกัน

                 ผาน »¯ÔÞÞÒÊÒ¡ÅÇ‹Ò´ŒÇÂÊÔ·¸ÔÁ¹Øɪ¹¢Í§ÊË»ÃЪҪÒμÔ (The Universal Declaration of Human
                 Rights-UDHR) ซึ่งสมัชชาสหประชาชาติลงมติรับรอง และประกาศใชมาตั้งแต ๑๐ ธันวาคม ค.ศ.๑๙๔๘

                                 สวนตนของคําปรารภ (Preamble) ระบุไววาสงครามนําความสูญเสียมาแกชีวิตมนุษยชาติ
                 และใหการรับรองสิทธิมนุษยชน, ศักดิ์ศรีและคุณคาความเปนมนุษย, ความเสมอภาคของชายและหญิง

                 และความเสมอภาคของประเทศไมวาจะมีขนาดใหญหรือเล็ก, รัฐตางๆ ตองวางรากฐานเพื่อสราง

                 ความยุติธรรมใหเปนไปตามเจตนารมณแหงพันธะสัญญาระหวางประเทศใหสําเร็จผล, และสนับสนุน
                 สรางความกาวหนาทางสังคมและมาตรฐานชีวิตภายใตหลักเสรีภาพ
                                 การเกิดขึ้นขององคการสหประชาชาติภายหลังเหตุการณสงครามโลกครั้งที่สอง

                 จึงนับเปนจุดเริ่มตนของ “สิทธิมนุษยชน” ที่ถูกหยิบยกเปนประเด็น “สากล”  สําหรับโลกยุคใหม

                 การรับรองกฎบัตรสหประชาชาติเปนการแสดงใหเห็นความมุงมั่นคุมครองสิทธิมนุษยชน กอนที่จะขยับ
                 ขยายตัวไปสูประเด็นที่หลากหลายในเวลาตอมา



                 ʋǹÊÃØ»

                             สิทธิมนุษยชนที่ถูกกลาวถึงในทุกวันนี้ไมใชแนวคิดที่เพิ่งปรากฏขึ้นมาใหม หากแตรากฐาน
                 ของสิทธิมนุษยชนนั้นสามารถยอนกลับไปไดยาวนานในเชิงประวัติศาสตร ซึ่งแนวคิด “สิทธิธรรมชาติ”

                 ที่มีมาแตอดีตนั้นเปนรากฐานสําคัญของแนวคิด “สิทธิมนุษยชน” ในปจจุบัน โดยมีเหตุการณสําคัญ
                 ซึ่งเชื่อมโยงกับพัฒนาการของแนวคิดสิทธิมนุษยชนในแตละชวงเวลา เริ่มจากยุคกรีกและโรมัน

                 ซึ่งแมจะเปนจุดกําเนิดของแนวคิดสิทธิธรรมชาติแตประชาชนทั่วไปยังยอมรับชะตากรรมชีวิต
                 โดยไมตั้งคําถามมากนักตอสิทธิเสรีภาพในชีวิตของตนเอง ตอมาในยุคกลางหรือยุคมืด อํานาจ

                 ของศาสนจักรมีบทบาทเหนืออํานาจฝายบานเมือง มีความเชื่อวาคริสตศาสนาคือศูนยกลางของ
                 สรรพสิ่ง พระเจาสรางโลกและคือคําตอบที่ถูกตองของชีวิตมนุษย แนวคิดสิทธิธรรมชาติที่เชื่อวามนุษย

                 ทุกคนมีสิทธิติดตัวมาแตกําเนิดจึงถูกกดทับเปนอยางมากในยุคนี้ จนกระทั่งเขาสูยุคใหม ยุคที่ปจเจกชน
                 เริ่มกลับมาใหความสําคัญกับชีวิตมนุษย ดึงความสนใจจากศาสนจักรในยุคกอนมาสูความเปนมนุษย

                 และยึดหลักเหตุและผล รวมถึงหลักทางวิทยาศาสตร เชน แนวคิดมนุษยนิยม (Humanism) การรูแจง
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27