Page 23 - 02_สทธมนษยชนกบการปฏบตงานของตำรวจ_Neat
P. 23

๑๖




              (The Enlightenment) และการฟนฟูศิลปะ (Renaissance) แนวคิดสิทธิธรรมชาติจึงกลับมาโดดเดน
              และไดรับการกระจายแนวคิดนี้ในวงกวางมากยิ่งขึ้น นําไปสูการตอสูที่สําคัญอันเปนการเรียกรองสิทธิ

              ในชีวิตที่สําคัญสองเหตุการณ คือ การประกาศมหาบัตรของอังกฤษ (๑๒๑๕), การปฏิวัติอเมริกา (๑๗๗๖)
              และการปฏิวัติฝรั่งเศส (๑๗๘๙)

                          ความสูญเสียทั้งตอชีวิตและทรัพยสินจากเหตุการณสงครามโลกครั้งที่สอง ทําใหประเทศ
              ตางๆ ทั่วโลกกลับมาทบทวนรวมกันเพื่อสรางมาตรการปองกันการสูญเสียเชนนี้ไมใหเกิดขึ้นอีก

              เจตนารมณของแนวคิดสิทธิธรรมชาติ ถูกนํามาใชและพัฒนาสูความเปนสากลหลังเหตุการณ
              สงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุด นั่นคือ การเกิดขึ้นของแนวคิดสิทธิมนุษยชน ภายหลังการกอตั้ง

              องคการสหประชาชาติ (๑๙๔๕) และการประกาศปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชนของสหประชาชาติ
              (The Universal Declaration of Human Rights-UDHR) (๑๙๔๘)



              ¡Ô¨¡ÃÃÁ
                          ๑.  สิทธิธรรมชาติ ถือเปนแนวคิดพื้นฐานของแนวคิดสิทธิมนุษยชนอยางไร


                          ๒.  พัฒนาการในยุคสมัยตางๆ สะทอนแนวคิดสิทธิธรรมชาติอยางไร
                          ๓.  ยกตัวอยางเหตุการณสําคัญในประวัติศาสตรพรอมอธิบายความสัมพันธ
              ของเหตุการณนั้นกับแนวคิดสิทธิธรรมชาติและสิทธิมนุษยชน

                          ๔.  วิเคราะหวลีที่เกี่ยวเนื่องกับสิทธิมนุษยชนพรอมแสดงทัศนตอวลีนั้น

                            ๔.๑
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28