Page 28 - 02_สทธมนษยชนกบการปฏบตงานของตำรวจ_Neat
P. 28

๒๑


                                                       º··Õè ò


                                   ¹ÔÂÒÁ »ÃÐàÀ· áÅÐËÅÑ¡¡ÒÃÊÔ·¸ÔÁ¹Øɪ¹



                 ÇÑμ¶Ø»ÃÐʧ¤

                            ๑.  อธิบายนิยามของสิทธิมนุษยชนและวิเคราะหนิยามของสิทธิมนุษยชน

                 ที่ถูกใหความหมายจากภาคสวนตางๆ  ไดอยางถูกตอง
                            ๒.  อธิบายประเภทของสิทธิมนุษยชนและวิเคราะหเปรียบเทียบการแบงประเภท

                 ของสิทธิมนุษยชนไดอยางถูกตอง
                            ๓.  อธิบายหลักการสําคัญของสิทธิมนุษยชนไดอยางถูกตอง

                            ๔.  วิเคราะหเหตุการณสําคัญซึ่งเชื่อมโยงกับพัฒนาการของแนวคิดสิทธิมนุษยชน
                 ในแตละชวงเวลาไดอยางถูกตอง



                 ʋǹนํา

                            การศึกษา “สิทธิมนุษยชน” นั้น นอกจากตองทําความเขาใจวา “แนวคิดสิทธิมนุษยชน
                 เกิดขึ้นมาไดอยางไร”  อันเปนการศึกษาเชิงพัฒนาการทางประวัติศาสตรที่ชวยใหเขาใจและ

                 ตระหนักถึงความสําคัญของการตอสูที่ยาวนาน กวาที่ “สิทธิมนุษยชน” จะกลายเปนประเด็นสากล
                 อยางเชนปจจุบัน ประเด็นคําถามถัดมาที่ตองทําความเขาใจคือ “สิทธิมนุษยชนคืออะไร มีหลักการ

                 และแบงประเภทอยางไร บทนี้จึงเปนการสรุปสาระสําคัญอันจะชวยตอบคําถามที่สําคัญในสามประเด็น
                 คือ นิยาม, ประเภท และหลักการสําคัญของสิทธิมนุษยชน โดยรวบรวมและวิเคราะหจากเอกสาร

                 งานเขียนจํานวนมากที่กระจัดกระจายเขาดวยกัน เพื่อชวยใหเขาใจและเห็นภาพของ “สิทธิมนุษยชน”
                 ไดชัดเจนยิ่งขึ้น



                 ¤ÇÒÁËÁÒ¢ͧÊÔ·¸ÔÁ¹Øɪ¹

                            สําหรับคําถามสั้นๆ ที่ดูเหมือนจะตอบไดไมยากนักวา “สิทธิมนุษยชนคืออะไร” คําตอบ
                 ที่ไดกลับหลากหลายและแตกตางกันไปตามพื้นฐานความรับรูและประสบการณของผูตอบ การใหความหมาย

                 แกสิทธิในยุคแรกๆ หมายถึง “สิทธิธรรมชาติ” (Natural rights) อธิบายวาแตละคนมีสิทธิบางอยาง
                 ติดตัวมาแตกําเนิดอยางเทาเทียม ซึ่งไมมีใครสามารถพรากเอาสิทธินั้นไปได ทวา ความหมาย

                 ที่ใชอธิบายนั้นคอนขางเปนนามธรรมอยูมาก และในทางปฏิบัติ สิทธิก็มักจะถูกสงวนใหแกคนบางกลุม
                 เทานั้น เชน กษัตริย, นักบวช, ขุนนาง, พลเมืองของอาณาจักร อยางไรก็ดี พัฒนาการจากประวัติศาสตร

                 สมัยตางๆ ก็ไดชวยกันสรางตัวตนของ “สิทธิมนุษยชน” (Human rights) ใหเปนรูปรางมากขึ้น
                 อาทิ ยุคสมัยใหมแหงการฟนฟู  (Renaissance) และการรูแจง  (Enlightenment) ที่สนใจ

                 และเชื่อมั่นในความเปนมนุษย, ความสูญเสียในยุคหลังสงครามโลกครั้งที่สอง  (World War II)
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33