Page 31 - 02_สทธมนษยชนกบการปฏบตงานของตำรวจ_Neat
P. 31

๒๔



              »ÃÐàÀ·¢Í§ÊÔ·¸ÔÁ¹Øɪ¹

                         ถึงกระนั้น สิทธิมนุษยชนที่เปนสิทธิพื้นฐานซึ่งทุกคนควรไดรับ สิทธิเหลานั้นมีเรื่องอะไรบาง
              แมการแบงประเภทสิทธิมนุษยชนใหชัดเจนลงไปทําไดไมงายนัก เหตุเนื่องจากมีความเปนพลวัต

              และไมเคยหยุดนิ่งทั้งในแงความหมายและตัวแสดงที่เกี่ยวของ ทวาเทาที่แวดวงวิชาการไดเคยมีความ
              พยายามจําแนกออกมา โดยอิงเกณฑที่ใชตางกันไป พบอยางนอย ๔ กลุม ไดแก หนึ่ง การแบงตาม

              ผูทรงสิทธิ (Rights holders) สอง การแบงตามยุคสมัย (Rights generations) สาม การแบงตาม
              ความสมบูรณแหงสิทธิ (Entirety rights) และ สี่ การแบงตามเนื้อหาที่ปรากฏอยูในปฏิญญาสากล

              วาดวยสิทธิมนุษยชน
                         ¡ÒÃẋ§»ÃÐàÀ·¢Í§ÊÔ·¸ÔÁ¹Øɪ¹μÒÁËÅÑ¡¼ÙŒ·Ã§ÊÔ·¸Ô (Rights holders)

                         เกณฑนี้จะพิจารณาที่สิทธินั้นวาเปน “สิทธิเฉพาะตัวของแตละคน” หรือ “สิทธิเชิงกลุม”
              อยางไรก็ดีการแบงประเภทสิทธิมนุษยชนรูปแบบนี้มีขอจํากัดคือ สิทธิบางเรื่องสามารถแปรผันเปนได

              ทั้งสิทธิเฉพาะตัวและสิทธิกลุม
                         (๑)  สิทธิเชิงปจเจก (Individual rights) เปนสิทธิเฉพาะตัว เชน

                              (๑.๑)  สิทธิในการนับถือศาสนา (The right to religion) : สิทธิตามธรรมชาติ

              จะลวงละเมิดไมได รัฐตองใหการคุมครองและรับรอง รวมถึงเสรีภาพในการเปลี่ยนศาสนา (Freedom
              to change religion), เสรีภาพในการปฏิบัติตามหลักความเชื่อทางศาสนา (Freedom to exercise
              religion) และสิทธิที่จะไมมีศาสนา (Right to have no religion) ดวยเชนกัน

                              (๑.๒)  สิทธิในชีวิตรางกาย (The right to life) : มีความเชื่อวามนุษยทุกคน

              มีสิทธิในชีวิตและรางกายซึ่งไมมีใครจะพรากเอาสิทธินี้ไปได รัฐจึงตองใหความคุมครองชีวิตไมให
              มีการละเมิด บุคคลจะถูกทําใหเสียชีวิตตามอําเภอใจไมได โดยเฉพาะการเสียชีวิตจากอํานาจรัฐ ๗



               ¢ŒÍÊѧà¡μ :
                 ความเชื่อในเรื่องสิทธิในชีวิตรางกายเปนหนึ่งในเหตุผลของฝายสนับสนุนใหมีการยกเลิกโทษประหาร
               ชีวิต หรือลงโทษประหารชีวิตจะกระทําได “เฉพาะอาชญากรรมอุกฉกรรจที่สุด”
                 อดีตเลขาธิการสหประชาชาติ Ban Ki-moon กลาวไววา “The death penalty has no place in
                     st
               the 21  century” [ไมมีที่ยืนใหกับการลงโทษประหารชีวิตในศตวรรษที่ ๒๑ นี้]
                 เงื่อนไขหนึ่งของประเทศที่จะเขาเปนสมาชิก EU คือ การยกเลิกโทษประหารชีวิตในประเทศเสียกอน
               อยางไรก็ตามประเด็นเรื่องการยกเลิกโทษประหารชีวิตยังคงเปนประเด็นถกเถียงที่มีมายาวนานจวบจน
               ปจจุบัน








              ๗  “ถอยหางจากโทษประหารชีวิตบทเรียนจากเอเชียตะวันออกเฉียงใต” สืบคนเมื่อ ๑๔ ก.ค. ๒๕๖๐ จาก bangkok.ohchr.org/news/press/
               Moving%๒๐away-Thai.pdf
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36