Page 36 - 02_สทธมนษยชนกบการปฏบตงานของตำรวจ_Neat
P. 36
๒๙
¢ŒÍÊѧà¡μ :
หลักความเปนสากลของสิทธิมนุษยชนถูกโจมตีอยางมากวาเปนการครอบงําของอุดมการณแบบ
ตะวันตก ในแงมุมที่วา
- เกิดขึ้นในบริบทแบบตะวันตกที่เนนปจเจกชน โดยละเลยวิถีชีวิตที่แตกตางในประเทศจากมุมอื่นๆ
ของโลก
- ตะวันตกใชประเด็นสิทธิมนุษยชนขึ้นมาเพื่อกีดกันประเทศอื่นๆ โดยเฉพาะเพื่อผลประโยชนทาง
เศรษฐกิจ
- ความแตกตางทางวัฒนธรรมเปนจุดวิพากษใหญตอความเปนสากลของสิทธิมนุษยชน ยกตัวอยางเชน
การขลิบอวัยวะเพศหญิงในหลายประเทศของแอฟริกา เปนการลวงละเมิดสิทธิในชีวิตและรางกายในมุมมอง
ของตะวันตก แตเปนการปฏิบัติตามขนบธรรมเนียมของอีกหลายๆ ประเทศ
ในทางวิชาการการถกเถียงตอความเปนสากลของสิทธิมนุษยชนเปนเรื่องธรรมดาและมีทัศนะที่
หลากหลายได
Êͧ ËÅÑ¡ÈÑ¡´ÔìÈÃÕ¤ÇÒÁ໚¹Á¹ØÉ (Respect to human dignity)
แมนิยามของคําวา “ศักดิ์ศรีความเปนมนุษย” ไมมีนิยามเดียวที่ไดรับการยอมรับ
เปนการทั่วไป แตพอสรุปไดวา ศักดิ์ศรีความเปนมนุษย (Human Dignity) เปนคุณคาอันสืบเนื่องจาก
ความเปนมนุษยที่แตกตางจากสิ่งมีชีวิตอื่นๆ เนื่องจากเชื่อวามนุษยนั้นมีระบบการตัดสินใจที่อยู
บนฐานของหลักเหตุและผล มนุษยมีเจตนารมณอิสระ (Free will) มากกวาสิ่งมีชีวิตอื่น
หลักศักดิ์ศรีความเปนมนุษย จึงเปนของมนุษยทุกคนโดยไมมีขอจํากัดหรือเงื่อนไข
ทั้งนี้เพื่อใหมนุษยสามารถพัฒนาตนเองได มนุษยตองเคารพในศักดิ์ศรี และคุณคาในชีวิตของ
๑๓
ทุกคน ไมปฏิบัติตอผูอื่นเฉกเชนวามีคุณคาความเปนมนุษยนอยไปกวาตน (Degradation and
dehumanization)
ÊÒÁ ËÅÑ¡¡ÒÃẋ§á¡äÁ‹ä´Œ (Inalienable)
หมายถึงไมมีใครสามารถพรากเอาสิทธิพื้นฐานในชีวิตไปได ไมสามารถถายโอน
ใหแกกันไดเพราะเปนสิทธิเฉพาะตัวของมนุษยทุกคน เวนแตในสถานการณเฉพาะบางอยาง เชน
สิทธิในชีวิต อาจถูกจํากัดหากบุคคลนั้นกระทําความผิดตามที่กฎหมายกําหนด
ÊÕè ËÅÑ¡¤ÇÒÁàÊÁÍÀÒ¤ (Fairness) áÅÐËÅÑ¡äÁ‹àÅ×Í¡»¯ÔºÑμÔ (Non-discrimination)
ขอที่ ๑ ของปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชนเขียนวา มนุษยทุกคนเกิดมาอยางมีอิสรภาพ
และเสมอภาคในศักดิ์ศรีและสิทธิ [All human beings are born free and equal in dignity and
rights] ดวยแนวความคิดเชนนี้ มนุษยจึงตองปฏิบัติตอกันอยางยุติธรรม ปราศจากการเลือกปฏิบัติ
อันจะเปนเหตุใหเกิดการลดทอนคุณคาของมนุษยบางกลุมลง ตามเชื้อชาติ ภาษา ศาสนา เพศที่ตางออกไป
ทวา การปฏิบัติที่แตกตางกันออกไปก็หาใชเปนการเลือกปฏิบัติเสมอไป หากเกณฑในการแยกแยะ
๑๓ บรรเจิด สิงคะเนติ, “หลักพื้นฐานเกี่ยวกับสิทธิเสรีภาพและศักดิ์ศรีความเปนมนุษย,” (กรุงเทพฯ: วิญูชน, ๒๕๕๘) หนา ๑๒๖-๑๒๗.)