Page 37 - 02_สทธมนษยชนกบการปฏบตงานของตำรวจ_Neat
P. 37

๓๐




              การปฏิบัติที่แตกตางอยางมีเหตุและผล เชน การใหสิทธิพิเศษแกบุคคลเฉพาะกลุม เชน คนชรา ผูพิการ
              เด็ก สตรี เปนตน  ไมถือวาเปนการเลือกปฏิบัติหากอยูบนหลักความชอบธรรมและเหตุผลที่เหมาะสม
                         ภายใตหลักการความเสมอภาค มีสองแนวคิดใหญๆ คือ ความเสมอภาคอยางเทาเทียม

              (Equality) และความเสมอภาคตามความเหมาะสม (Equity) ซึ่งไดอธิบายเรื่องความเสมอภาคไว
              ตางกัน ดังนี้
                         ความเสมอภาคอยางเทาเทียม (Equailty) คือ การจัดสรรทรัพยากรตางๆ ใหแกทุกคน
              อยางเสมอภาคเทาเทียมกันทั้งหมด ไมวาจะเปนเพศใด อายุเทาใด หรืออยูในสถานภาพใด

                         ความเสมอภาคตามความเหมาะสม (Equity) คือ “การพิจารณาความตองการพื้นฐาน”
              (Basic needs) โดยเชื่อวาคนมีความจําเปนที่ตางกัน คนบางกลุมมีความตองการที่จะไดรับการดูแล

              มากกวา เพื่อใหสามารถใชชีวิตอยางปกติเฉกเชนคนทั่วไป หรือมีโอกาสในชีวิตไดเทาเทียมกับคน
              อื่นๆ ได เชน ผูพิการ, เด็ก, สตรี, ผูสูงอายุ อาจไดรับการดูแลในบางดานจากรัฐมากกวาคนปกติทั่วไป
              ลักษณะเชนนี้ยอมไมถือเปนการเลือกปฏิบัติแตอยางใด
                         สําหรับหลักการไมเลือกปฏิบัติ (Non-discrimination) คือการไมแบงแยก การไมกีดกัน

              การไมจํากัด หรือลําเอียงบนพื้นฐานใดก็ตาม เชน เชื้อชาติ ภาษา ศาสนา วัฒนธรรม เพศ อายุ
              ความคิดเห็นทางการเมือง สถานภาพทางสังคม ความสมบูรณของรางกาย


























                  ÀÒ¾·Õè ò.ò  เปรียบเทียบการแบงสรรตามหลักความเสมอภาคอยางเทาเทียม และความเสมอภาคอยางเหมาะสม


                         ËŒÒ à¡ÕèÂǾѹ¡ÑºË¹ŒÒ·Õè¢Í§ÃÑ° (State Obligation)
                         ภายใตการรวมตัวอยูภายใตสังคมอยางเปนทางการโดยมีรัฐทําหนาที่เปนผูปกครอง

              กํากับดูแลประชาชนภายในรัฐ สิทธิมนุษยชนแมจะมีรากฐานมาจาก “สิทธิธรรมชาติ” ที่เชื่อวามนุษย
              มีสิทธิติดตัวมาแตกําเนิด แตหากปราศจากการรับรองจากรัฐสิทธิที่วานี้ก็ดูจะเลื่อนลอย สิทธิมนุษยชน
              จะไดรับการปฏิบัติอยางเปนรูปธรรมเมื่อรัฐใหการรับรองโดยกฎหมาย ตั้งแตระดับรัฐธรรมนูญลงมา
              ทั้งในแงที่วารัฐจะไมเขาแทรกแซง อีกทั้งจะตองมีบทบาทดูแล ปกปอง และจัดการใหมาตรฐาน

              สิทธิมนุษยชนเกิดขึ้นจริงในทางปฏิบัติ
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42