Page 34 - 02_สทธมนษยชนกบการปฏบตงานของตำรวจ_Neat
P. 34

๒๗




                            Âؤ·ÕèÊÒÁ
                            สิทธิมนุษยชนในมิติแหงความมุงหวัง (Solidarity rights) ผูคนไมไดสนใจเพียงการมีสิทธิ

                 เสรีภาพ หรือการทํามาหากินที่คลองตัวแลวเทานั้น แตความสนใจของผูคนหลากหลายมากขึ้น มีความ
                 ตองการที่จะทําใหคุณภาพชีวิตมีมาตรฐานที่ดีขึ้น และมองปญหาเรื่องสิทธิไกลขึ้นไปกวาที่จะสนใจ

                 เฉพาะเรื่องของตนเอง เชน สิทธิในการไดรับการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคม, สิทธิในการอยูอาศัย
                 ในสภาพแวดลอมที่ดี, สิทธิในทรัพยากรธรรมชาติ, สิทธิในการมีสวนรวมดูแลมรดกทางวัฒนธรรม,

                 สิทธิในการดํารงชีพอยางยั่งยืน บนพื้นฐานความเชื่อวาภาคประชาชนกับรัฐสามารถสรางสังคมที่ดีได
                 รวมกัน, สิทธิที่จะไดรับการพัฒนา



                 ¡ÒÃẋ§»ÃÐàÀ·¢Í§ÊÔ·¸ÔÁ¹Øɪ¹μÒÁ¤ÇÒÁÊÁºÙóáË‹§ÊÔ·¸Ô

                                                                               ๑๒
                            การจัดแบงประเภทนี้ยึดตามระดับความสมบูรณแหงชาติ  ไลเลียงตั้งแตสิทธิหลักที่ไดรับ
                 การยอมรับเปนการทั่วไปวา เปนสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐานโดยไมมีเงื่อนไขในการไดรับสิทธินั้น
                 หรือไมสามารถพรากเอาสิทธินั้นไปไดเลยไมวาในสถานการณใด เรื่อยไปถึงการวางเงื่อนไข หรือมีขอ

                 จํากัดในการใชสิทธิ ดวยเหตุผลเรื่องความสงบเรียบรอยและประโยชนของสวนรวม ประกอบไปดวย
                            ÊÔ·¸ÔÊÁºÙó (Absolute rights)

                            เปนสิทธิที่ทั้งรัฐและมนุษยดวยกันเองไมสามารถพรากหรือละเมิดได เชน สิทธิที่จะ
                 ไมถูกทรมานหรือลดคุณคาความเปนมนุษย (Torture and degrade), สิทธิในการไดรับพิจารณาคดี

                 อยางยุติธรรม (Fair trial), สิทธิในการคิด (Freedom of thought) เปนตน
                            ÊÔ·¸ÔÍ‹ҧÁÕà§×èÍ¹ä¢ (Qualified rights)

                            สิทธิซึ่งรัฐอาจเขามายุงเกี่ยวได เนื่องจากตองชั่งนํ้าหนักระหวางผลประโยชนของปจเจก
                 และผลประโยชนของสังคมหรือรัฐ ทั้งนี้เงื่อนไขสําคัญคือ รัฐตองใชอํานาจและวิธีการที่ชอบธรรม
                 เทานั้น (Legitimacy and rule of laws) เชน สิทธิในชีวิต (Right to life) อาจถูกพรากไป

                 เมื่อถูกพิพากษาประหารชีวิต, เสรีภาพในการแสดงออก (Freedorm of expression) ทําไมได
                 หากเปนการแสดงออกที่สรางความเดือดรอนใหแกผูอื่น เชน กออาชญากรรมแหงความเกลียดชัง
                 (Hate crime)

                            ÊÔ·¸ÔÍ‹ҧจํา¡Ñ´ (Limited rights)
                            เปนสิทธิที่ระบุอยางชัดเจนโดยกฎหมายวามีขอบเขตอันจํากัด เชน การใชเสรีภาพ

                 ในการชุมนุมตองเปนไปโดยสงบและปราศจากอาวุธ, การแสดงความคิดเห็นไมอาจจะไปกระทบกระเทือน
                 สิทธิสวนตัวของบุคคลอื่น






                 ๑๒  The Ministry of Justice (๒๐๐๖), Making sense of human rights : a short introduction, pp. ๓-๔, Available online at
                  https://www.justice.gov.uk/downloads/human-rights/human-rights-making-sense-human-rights.pdf)
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39