Page 30 - 3.
P. 30
26
การขุดเจาะน้ ามันดิบไปชั้นหินที่กักเก็บปิโตรเลียม
การส ารวจและการขุดเจาะหาแหล่งน้ ามันปิโตรเลียมในประเทศไทย เริ่ม
ตั้งแต่ พ.ศ. 2464 โดยกรมทรัพยากรธรณี (กรมโลหกิจสมัยนั้น) ได้พบแหล่งน้ ามันดิบที่
อ าเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ และต่อมารัฐบาลได้มอบหมายในกรมพลังงานทหารเป็น
ผู้ด าเนินการจนสามารถผลิตและกลั่นเป็นน้ ามันเชื้อเพลิงได้เป็นครั้งแรกในอัตราวันละ
600 บาร์เรล ในปี พ.ศ. 2502 และหลังจากรัฐบาลได้เปิดสัมปทานให้บริษัทต่างประเทศ
เข้ามาส ารวจ และด าเนินการผลิตปิโตรเลียมทั้งบนบกและในทะเล ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2524
เป็นต้นมา ท าให้ค้นพบแหล่งน้ ามันดิบอื่นกระจายอยู่ในหลาย จังหวัด เช่น น้ ามันดิบ
เพชร แหล่งสิริกิติ์ จังหวัดก าแพงเพชร น้ ามันดิบนางนวล ในอ่าวไทย บริเวณจังหวัด
ชุมพร และยังมีแหล่งอื่นๆ บริเวณจังหวัดสุพรรณบุรี นครปฐม และสงขลา
น้ ามันดิบที่ขุดเจาะได้ภายในประเทศ เมื่อน ามากลั่นเป็นน้ ามันประเภทต่างๆ
ปรากฏว่ายังไม่เพียงพอกับความต้องการใช้ ต้องการซื้อน้ ามันดิบจากประเทศมากัน
พร้อมทั้งซื้อผลิตภัณฑ์ส าเร็จรูปอื่นๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งน้ ามันดีเซล และน้ ามันเต่า ซึ่ง
ต้องซื้อมากเพราะไม่พอกับความต้องการที่มีอัตราการใช้เพิ่มขึ้น
ในอุตสาหกรรมกลั่นน้ ามันปิโตรเลียม มีหลักการทั่วๆ ไปเหมือนกันคือให้
ความร้อนแก่น้ ามันดิบจนอุณหภูมิสูงประมาณ 350-400 องศาเซลเซียส แล้วฉีดเข้า
ทางด้านล่างของหอกลั่นที่มีอุณหภูมิลดหลั่นกันตามล าดับ โดยส่วนล่างสุดมีอุณหภูมิสูง
กว่า และจะลดลงเรื่อยๆ ตามความสูงของหอกลั่นดังนั้นสารที่มี