Page 29 - 3.
P. 29

25



          2.         เชื้อเพลิงเหลว เชื้อเพลิงที่มีบทบาทส าคัญมากในชีวิตประจ าวันคือ ปิโตรเลียม
          เพราะมนุษย์น าไปใช้ประโยชน์อย่างกว้างขวางทั้งทางตรงและทางอ้ม ปิโตรเลียมที่ขุด

          เจาะขึ้นมา หมายรวมถึงน้ ามันดิบ แก๊สธรรมชาติ และแก๊สธรรมชาติเหลว ตลอดจนสาร

          พลอยได้อื่นๆ ที่เกิดตามธรรมชาติซึ่งอยู่ในสภาพอิสระ ปีชิโตรเลียมเกิดจากสารอินทรีย์
          จากพืชและสัตว์ที่ตายทับถมและคลุกเคล้ารวมกับตะกอนเป็นเวลานานนับล้านปี

          อุณหภูมิ และความกดดันสูงท าให้สารอินทรีย์เกิดการเปลี่ยนแปลงไปเป็นสารประกอบไฮ

          ไดรคาร์อนที่มีมวลโมเลกุลใหญ่ เรียกว่า เคโรเจน หลังจากนั้นเคโรเจนจะสลายตัวต่อไป
          เป็นปิโตรเลียม ปิโตเลียมส่วนใหญ่จะเกิดในระดับความลึกที่สภาพอุณหภูมิเหมาะสม ที่

          ระดับความลึก และอุณหภูมิสูงมาก เคโรเจนจะสลายตัวได้รวดเร็ว และปิโตรเลียมที่ได้

          จะเกิดเป็นแก๊สธรรมชาติเป็นส่วนใหญ่
                     ปิโตรเลียมที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติจะถูกกักเก็บอยู่ในช่องว่างของชั้นหินที่มี

          โครงสร้างรูปกระทะคร่ า หรือโครงสร้างรูปอื่นที่เหมาะสม และอยู่ลึกลงไปจากพื้นผิวโลก

          นับพันๆ เมตร หินเหล่านั้นมีความหนาแน่นมากพอที่กักเก็บแก๊ส และน้ ามันไม่ให้ระเหย

          ไปก่อนการขุดเจาะ และเนื่องจากน้ ามันดิบมีความหนาแน่นมากกว่าแก๊ส แต่น้อยกว่าน้ า
          เรามักจะพบน้ ามันดิบอยู่ระหว่างชั้นของน้ ากับแก๊ส

                     การส ารวจปิโตรเลียมในเบื้องต้น คือการศึกษาลักษณะของหินใต้พื้นโลกว่ามี

          สมบัติกักเก็บปิโตรเลียมหรือไม่ เครื่องมือที่ใช้ส ารวจตรวจสอบข้อมูลทางธรณีวิทยามี

          หลายชนิด เช่น เครื่องมือวัดความเร็วของคลื่นไหวสะเทือน ซึ่งมีวิธีการวัดโดยส่งคลื่น
          ไหวสะเทือนลงไปใต้ผิวโลก เมื่อคลื่นกระทบกับโครงสร้างของหินจะสะท้อนกลับเข้า

          เครื่องรับคลื่นเสียง โครงสร้างของหินใต้ดินที่แตกต่างกันจะให้คลื่นสะท้อนที่แตกต่างกัน

          ท าให้สามารถวิเคราะห์และแปลผลเป็นข้อมูลเกี่ยวกับโครงสร้างของหินบริเวณที่ส ารวจ
          ได้ปัจจุบันมีเครื่องมือที่วัดได้ละเอียดมากขึ้น ท าให้ได้ข้อมูลที่สามารถน าไปประมวลเป็น

          ภาพ 2 มิติและ 3 มิติซึ่งท าให้มีความแม่นย าในการก าหนดแหล่งปิโตรเลียมมากขึ้น

          หลังจากได้ข้อมูลทางธรณีวิทยาจนแน่ใจ จึงเริ่มขุดเจาะส ารวจ ซึ่งพบว่าส่วนใหญ่จะพบ
          ปิโตรเลียมตามข้อมูลทางธรณีวิทยา แต่บางครั้งก็ไม่พบเลย หรือพบน้อยมากจนไม่คุ้มค่า

          กับการลงทุน
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34