Page 24 - 3.
P. 24

21


                    ส่วนเวลาดึกๆ จนถึงเช้าคนใช้ไฟลดลง แต่โรงไฟฟ้าที่ใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลหยุด

         ไม่ได้ เพราะถ้าหยุดกว่าจะปั่นไฟได้อีกต้องใช้เวลานาน ผู้ผลิตไฟฟ้าจึงไม่หยุดโรงไฟฟ้า

         ช่วงนี้จึงมีไฟฟ้าเหลือใช้ นักจัดการด้านไฟฟ้าจึงเอาไฟฟ้าเหลือนี้ไปสูบน้ ากลับขึ้นไปเก็บไว้

         บนอ่างเก็บของเขื่อน พอความต้องการใช้ไฟสูงในช่วงหลังเที่ยงวันจนถึงดึก ก็ปล่อยน้ า

         จากอ่างมาปั่นไฟใหม่ วิธีนี้เรียกว่า การผลิตไฟฟ้าพลังงานน้ าแบบสูบกลับ โครงงาน

         โรงไฟฟ้าพลังงานน้ าล าตะคลองแบบสูบกลับ เป็นโครงการหนึ่งที่น าหลักการนี้มาใช้ผลิต

         ไฟฟ้า โดยสูบจากอ่างเก็บน้ าเขื่อนล าตะคลอง ของกรมชลประทาน ไปเก็บไว้ที่อ่างเก็บน้ า

         บนเขายายเที่ยง ในช่วงที่มีความต้องการใช้ไฟฟ้าต่ าและเมื่อมีความต้องการใช้ไฟฟ้าสูง ก็

         ปล่อยน้ ากลับลงมาผ่านไฟฟ้าใต้ดิน เพื่อผลิตดกระแสไฟฟ้า ปริมาณน้ าดังกล่าวก็จะไหล

         ลงอ่างเก็บน้ าล าตะคลองเหมือนเดิมท าให้สามารถเพิ่มก าลังผลิตของแต่ละวันได้สูงถึง

         1,000,000 กิโลวัตต์ และได้พลังงานไฟฟ้าปีละ 400 ล้านกิโลวัตต์























              แผ่นที่แสดงการก่อสร้างโครงการ                     อ่างเก็บน้ าตอนบนที่ก่อสร้าง

              โรงไฟฟ้าพลังน้ าล าตะคลองแบบสูบกลับ               บนเขายายเที่ยง มีขนาด 228 ไร่
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29