Page 28 - 3.
P. 28

24



                     ในขณะที่น้ ามันดิบราคาสูงขึ้น ประเทศต่างๆ ที่ไม่มีน้ ามันดิบหรือมีไม่เพียงพอ

          พยายามแสวงหาเชื้อเพลิงชนิดอื่นมาทดแทน หินน้ ามันจึงเป็นแหล่งพลังงานอีกแหล่ง

          หนึ่ง ซึ่งเกิดจากการสะสมของพืชและสัตว์ในหนองบึง หรือในทะเลสาบเวลานับล้านปี

          ภายใต้ความกดดัน และอุณหภูมิสูง ท าให้สารอินทรีย์เหล่านี้เปลี่ยนรูปแปรสภาพเป็น

          สารที่มีลักษณะข้น ยืดหยุ่นได้คล้ายยาง เรียกว่า เคโรเจน ถ้าน าหินดินดานที่มีเคโรเจน

          เป็นองค์ประกอบมาเผาในที่อับอากาศใช้อุณหภูมิประมาณ 500 องศาเซลเซียสเคโรเจน

          จะสลายตัวให้น้ ามันหิน ซึ่งเมื่อน าไปกลั่นต่อไปจะได้น้ ามัน และสารต่างๆ เช่นเดียวกับ

          การกลั่นน้ ามันดิบ หินดินดาน 1 กิโลกรัม ที่สกัดแล้วให้น้ ามัน 10 ลูกบาศก์เซนติเมตร

          หรือมากกว่า จึงจะเรียกว่าหินน้ ามัน ในปัจจุบันถือว่าหินดานที่ให้น้ ามันเกินกว่า 75

          ลูกบาศก์เซนติเมตรต่อหินดินดาน 1 กิโลกรัมจึงจะเป็นประโยชน์ทางเศรษฐกิจ จากการ

          ส ารวจหินน้ ามันในประเทศไทย ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2478 เป็นต้นมา

                     การน าพลังงานจากหินน้ ามันมาใช้นั้น ท าได้ 2 ทาง คือ หินน้ ามันชนิดที่มี

          ปริมาณน้ ามันต่ ากว่าร้อยละ 15 โดยน้ าหนักต่อหินน้ ามัน 1 กิโกกรัม น ามาบดให้

          ละเอียด และใช้เป็นเชื้อเพลิงโดยตรงส่วนหินน้ ามันที่มีปริมาณน้ าสูงกว่าร้อยละ 15 โดย

          น้ าหนัก จะน ามากลั่นเป็นน้ ามัน ซึ่งจะได้น้ ามันเบนซินน้อย ส่วนใหญ่เป็นน้ ามันดีเซล

          และน้ ามันเตา ที่เหลือจะเป็นยางมะตอยและถ่านโค้ก และมีผลพลอยได้อย่างอื่นคือ

          แอมโมเนีย และสารประกอบของก ามะถันละลายปนอยู่กับไอน้ าที่กลั่นออกมาสารทั้ง

          สองนี้สามารถน ามาท าปุ๋ยแอมโมเนียซัลเฟตได้ประมาณ 60 กิโลกรัมต่อหินน้ ามัน 1,000

          กิโลกรัมจึงเป็นที่คาดหมายกันว่าหินน้ ามันจะเป็นแหล่งพลังงานในประเทศที่จะน ามาใช้

          ได้อย่างคุ้มค่าในอนาคตปัจจุบันน้ ามันที่ผลิตมาจากหินน้ ามันยังมีราคาแพงกว่าแปลง

          และมีปัญหาเกี่ยวกับมลพิษ เพราะน้ ามันที่ได้จากการกลั่นหินน้ ามันมีสีด า เนื่องจากมี

          สารประกอบของก ามะถันนอกจากนี้ยังมีปัญหาในการก าจัดกากที่เหลือซึ่งมีปริมาณมาก

          ถึงร้อยละ 60 โดยน้ าหนัก
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33