Page 25 - 3.
P. 25
21
ข้อดีของพลังน้ าอีกประการหนึ่งคือ เป็นพลังงานหมุนเวียนที่ใช้แล้วไม่หมด
น้ านี้เมื่อใช้ปั่นไฟแล้วยังเอาไปใช้ในการเกษตรได้ และเมื่อระเหยกลายเป็นไอก็รวมตัวกัน
เป็นเมฆ และกลายเป็นฝนตกกลัมาเป็นน้ าในเขื่อน ให้ใช้ไฟได้อีก ส่วนข้อเสียคือ ในการ
สร้างเขื่อนเก็บกักน้ าเพื่อปั่นไฟนั้น มักสูบเสียพื้นที่ป่าไม้ ซึ่งนัวันจะน้อยลง และท าให้
สัตว์ป่าต้องพยพหนีน้ าท่วมางชนิดอาจสูญพันธุ์ รวมทั้งชีวิตความเป็นอยู่ของคนท้องถิ่นก็
เปลี่ยนไปจากเดิมด้วย
พลังน้ าเป็นพลังงานที่สะอาด ไม่ปล่อยแก๊สพิษออกมา มีการทดแทนต่อเนื่อง
ตลอดเวลา ท าให้ใช้ประโยชน์ได้ไม่มีที่สิ้นสุด ในปัจจุบันการใช้พลังงานน้ าเพื่อผลิต
กระแสไฟฟ้ามีอยู่ประมาณร้อยละ 4 ของพลังงานที่ใช้อยู่ทั้งหมดในโลก พลังน้ าเป็นพลัง
ที่ต้องลงทุนสูง ค่าใช้จ่ายในการบ ารุงรักษาสูง การที่จะน ามาใช้จึงต้องพิจารณาใน
รอบคอบ และให้สามารถใช้ได้ผลคุ้มค่า ได้ประโยชน์ตอบแทนสูงสุด
พลังงานลม (Wind Energy)
พลังงานลมเกิดจากความแตกต่างของอุณหภูมิหรือความกดดันของชั้น
บรรยากาศที่ดูซับพลังงานความร้อนจากแสงอาทิตย์ไม่เท่ากัน ลมจึงเป็นพลังงานรูปหนึ่ง
มีพลังในตัว อาจท้านเรือนพัง ต้นไม้โค่น สิ่งต่างๆ ล้ม หรือปลิวไปตามลม ในสมัยราณม
นุษย์ได้ใช้ลมในการเดินเรือใบ เรือส าเภา หากไม่มีน้ ามันใช้จริงๆ อาจต้องหันมาใช้
พลังงานลมประกอบกับพลังงานรูปอื่นๆ เช่น พลังงานแสงอาทิตย์หรือไฟฟ้า ประเทศ
ไทยยังมีการพัฒนาด้านการน าพลังงานลมมาใช้ประโยชน์น้อย เพราะพื้นที่ส่วนใหญ่ใน
ประเทศมีปริมาณลมไม่สม่ าเสมอตลอดปี ที่จะสามารถผลิตพลังงานขนาดใหญ่ได้ คือมี
อัตราเร็วลมเฉลี่ต่ า และยังอาจมีพายุแรงท าให้กังหันลมเสียหายได้ แต่มีบางพื้นที่ เช่น ริ
เวณชายฝั่งทะเล ที่มีปริมาณลมสม่ าเสมอ ท าให้สามารถน าพลังงานมาใช้งานให้เกิด
ประโยชน์ได้ โดยความเร็วลมที่เหมาะสมที่จะน ามาใช้งานต้องมีความเร็วเฉลี่ยอย่างน้อย
7.0 เมตร/วินาที ในประเทศไทยมีการใช้กังหันลมหลายแบบในการสูบน้ า การใช้กังหัน
ลมต้องพิจารณาถึงพลังงานลมที่ได้รับ ณ ที่ติดตั้งและความคงทนถาวรของตัวกังหัน