Page 30 - หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม
P. 30

20



                        1.  เตรียมการประชาสัมพันธสื่อสารใหประชาชนไดเขารวมเวทีประชาพิจารณ เตรียม

               เอกสารแผนงานโครงการที่รวมกันคิด รวมกันกําหนดติดตอและเตรียมวิทยากร และคณะ

               ผูดําเนินการรวมทั้งเตรียมความพรอมในการจัดเวที

                        2.  จัดเวที สรางความเขาใจกับสมาชิกของชุมชนทั้งหมด โดยเชิญผูนํา ตัวแทน กลุม

               ตางๆ และประชาชนในชุมชนรวมเวที

                        3.  ประชาพิจารณ วิพากษวิจารณ แลกเปลี่ยนเรียนรู รวมแรงรวมใจใหเปนหนึ่งเดียว

               เพื่อรวมกันปฏิบัติการตามแผน

                        4.  ปรับปรุง แกไขแผนใหมีความถูกตองเหมาะสมตามมติของที่ประชุมโดย เขียน แผน

               เปนลายลักษณอักษร จัดทําเปนเอกสารใหชุมชนไดศึกษาและนําไป ปฏิบัติใหเปนไปใน แนวทาง

               เดียวกัน



               องคประกอบของแผนชุมชน


                        โดยทั่วไป แผนชุมชนมีองคประกอบหลักในการเขียนดังนี้ คือ

                              1.  วิสัยทัศน (ภาพอนาคตที่จะไปใหถึง)

                              2.  เปาหมาย

                              3.  ยุทธศาสตร (กลวิธี)

                              4.  วัตถุประสงค

                              5.  ขอมูลชุมชน ที่จําแนกเปนหมวดหมู

                              6.  แผนงาน โครงการ และกิจกรรม

                              7.  แผนการปฏิบัติงาน แนวทางหรือวิธีการดําเนินการ

                              8.  จํานวนงบประมาณ และที่มาของงบประมาณ

                              9.  ระยะเวลาดําเนินการ

                               10.   ตัวบงชี้ความสําเร็จ

                        สวนองคประกอบปลีกยอยอื่นอาจเขียนเพิ่มเติมตามความจําเปนและเหมาะสมตาม  บริบท

               สิ่งแวดลอมของแตละชุมชน
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35