Page 32 - หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม
P. 32
22
2.2 แลกเปลี่ยนเรียนรูซึ่งกันและกัน ทั้งคณะทํางานและประชาชนรวมกัน สะทอน
ความคิดเห็นตอประเด็น
2.3 คนหาปจจัยเกื้อหนุนหรือ “ทุน” ในชุมชน โดยรวมกันพิจารณาจุดเดน จุด
ดอย ขอจํากัดและโอกาสของการพัฒนาชุมชน ระดมสมองคนหา ทรัพยากรตางๆ ที่มีอยูใน ชุมชน
รวมทั้งทุนทางสังคม ไดแก วัฒนธรรม ประเพณี ระบบเครือญาติ ความเอื้ออาทร ฯลฯ เพื่อใชทุน
เหลานี้เปนพลัง ขับเคลื่อนกิจกรรมตางๆ ในชุมชน
3. ขั้นติดตามและประเมินผลการดําเนินการ
3.1 คณะทํางานและประชาชนกลุมเปาหมายรวมกันแสดงผล ประเมิน จุดเดน จุด
ดอย ขอบกพรองและสิ่งที่ควรปรับปรุง สําหรับการทําประชาคมครั้งตอไป รวบรวมผลงาน ที่ผาน
มา เพื่อเผยแพรและประชาสัมพันธ
3.2 ติดตามผลหลังการดําเนินงาน เมื่อจัดประชาคมเสร็จสิ้นแลว เชน คณะ ทํางาน
ประชาชน กลุมเปาหมาย และผูเกี่ยวของทุกฝาย ตองประสานงาน เพื่อใหเกิดการสนับ สนุนการ
ดําเนินงานตามมติของประชาชนอยางตอเนื่อง ใหกําลังใจ ชวยเหลือกันและกันอยาง จริงจัง
วัตถุประสงคของการทําประชาคม
ในการทําประชาคมมีวัตถุประสงคที่สําคัญหลายประการ (ณัฐนรี ศรีทอง, 2552, 418-419)
ดังนี้
1. เพื่อสงเสริมใหประชาชนเกิดการเรียนรูซึ่งกันและกันอยางตอเนื่อง โดย
สามารถ คิด วิเคราะหไดดวยตนเอง
2. เพื่อสงเสริมใหประชาชนไดวิเคราะหปญหาของชุมชน และสามารถ กําหนด
ทิศทางการทํางานดวยตนเอง
3. เพื่อสรางจิตสํานึกสาธารณะใหเกิดขึ้น ประชาชนในชุมชนรูจักทํางานเพื่อ
สวนรวม และการพึ่งพาตนเอง
4. เพื่อคนหาผูนําการเปลี่ยนแปลง (แกนนํา) ในชุมชน
5. เพื่อเปนการระดมพลังสมองในการคิดแกปญหาที่ตอบสนองตอความ ตองการ
ที่แทจริงของประชาชน (ประเด็นรวม)