Page 34 - หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม
P. 34

24



                              2.  ควรใชความคิดและนําเสนอโดยการพูดสื่อสารใหเห็นความเชื่อมโยง และเปน

               ระบบ

                              3.  พยายามเขาใจและเรียนรูรับฟงเหตุผลของผูอื่น

                              4.  ควรรับฟงประเด็นและความคิดเห็นของผูอื่นอยางตั้งใจ หากไมเขาใจควร

               ซักถามผูดําเนินการดวยความสุภาพ

                              5.  ความคิดเห็นควรมีความเปนไปได มีความเหมาะสม

                              6.  ควรเสนอความคิดเห็นอยางสรางสรรค นั่นคือใชเหตุและผลประกอบ ความ

               คิดเห็น

                              7.  รับฟงและเคารพความคิดเห็นของผูอื่น เพราะแตละคนมีสิทธิเสรีในการ แสดง

               ความคิดเห็นอยางเทาเทียมกัน

                              8.  แสดงความคิดเห็นตอประเด็นรวมอยางตรงไปตรงมา

                              9.  ไมวางตนเปนผูขัดขวางตอการดําเนินงาน

                           4.2     การมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนาชุมชน


                              1.  การมีสวนรวมในการคนหาสาเหตุของปญหา เนื่องจากปญหาเกิดกับ

               ประชาชน ประชาชนในชุมชนยอมรูจักและเขาใจปญหาของตนดีที่สุด หากไดรวมกลุมกัน จะ

               สามารถชวยกันคิด วิเคราะหปญหาและสาเหตุไดอยางชัดเจนและรอบดาน

                              2.  การมีสวนรวมในการรวมคิดรวมวางแผน ประชาชนอาจรวมกันใชขอมูล ที่ได

               จากการสํารวจและเรียนรูรวมกันจากการรวมกลุมแลกเปลี่ยนความคิดเห็น จากการคนหา ศักยภาพ

               ของชุมชน หรือจากการศึกษาดูงาน แลวนําขอมูลเหลานั้น มาคิดวางแผนรวมกัน ตัดสินใจรวมกัน

               ขั้นตอนนี้อาจคอยเปนคอยไป และอาศัย แกนนําที่เขมแข็ง

                              3.  การมีสวนรวมในการปฏิบัติ เนื่องจากประชาชนมีทุนของตนเอง ตั้งแต

               แรงงาน ประสบการณและทรัพยากร หากไดรวมกันปฏิบัติโดยใชทุนที่มีอยูยอมทําใหรูสึกถึง ความ

               เปนเจาของรวมกัน เกิดการเรียนรูในการทํางานรวมกัน  การแกไขปญหารวมกัน โอกาส ที่จะ

               นําไปสูเปาหมายจึงมีสูงกวาการปฏิบัติโดยอาศัย บุคคลภายนอก

                              4.  การมีสวนรวมในการติดตามและประเมินผล เมื่อประชาชนเปนผูปฏิบัติ และ

               ขณะเดียวกันประชาชนควรเปนผูติดตามและประเมินผลรวมกัน เพื่อจะไดรวมกันพิจารณา วา สิ่งที่
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39