Page 57 - หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม
P. 57

47



               ฝนเขตรอนอันลึกลับไดทําใหเกิดการโดดเดี่ยวในยุคเริ่มตนและการพัฒนาทางการเมืองแยกตางหากกับสวน

               อื่น ๆ ของประเทศ การเขาถึงทะเลอันดามันและอาวไทยทําใหภาคใตเปนทางผานของทั้งพระพุทธศาสนานิกาย
               เถรวาท โดยมีศูนยกลางอยูที่ จังหวัดนครศรีธรรมราช และศาสนาอิสลาม โดยมีศูนยกลางอยูที่อดีตอาณาจักร

               ปตตานีซึ่งมีพรมแดนติดตอกับประเทศมาเลเซีย


                       3.2 ภูมิอากาศ



                        พื้นที่สวนใหญของประเทศไทยมีลักษณะภูมิอากาศแบบรอนชื้นหรือแบบสะวันนาตามการแบงเขต
               ภูมิอากาศแบบคอบเปน ในขณะที่ภาคใตและทางตะวันออกสุดของภาคตะวันออกเปนเขตภูมิอากาศแบบมรสุม

               เขตรอน ทั่วประเทศมีอุณหภูมิเฉลี่ยระหวาง 19-38°C ในฤดูแลง อุณหภูมิเพิ่มสูงขึ้นอยางรวดเร็วในชวงครึ่งหลัง

               ของเดือนมีนาคม โดยสูงกวา 40°C ในบางพื้นที่ในชวงกลางเดือนเมษายนเมื่อดวงอาทิตยเคลื่อนผานจุดเหนือ
               ศีรษะ

                        มรสุมตะวันตกเฉียงใตซึ่งพัดเขาสูประเทศไทยระหวางเดือนพฤษภาคมและกรกฎาคม (ยกเวนภาคใต)

               เปนจุดบงชี้วาประเทศไทยเขาสูฤดูฝน ซึ่งกินเวลาจนถึงเดือนตุลาคม และเมฆซึ่ง
               ปกคลุมทําใหอุณหภูมิลดลง แตมีความชื้นสูงมาก เดือนพฤศจิกายนและเดือนธันวาคมเปนจุดเริ่มตนของฤดูแลง

               และอุณหภูมิในเวลากลางคืนเหนือพื้นดินสามารถลดต่ําลงกวาจุดเยือกแข็ง อุณหภูมิเพิ่มสูงขึ้นอีกครั้งในชวง

               เดือนมกราคม เมื่อดวงอาทิตยสองแสงมายังภูมิประเทศ ฤดูแลงในภาคใตมีระยะเวลาสั้นที่สุด เนื่องจากการที่

               ภาคใตตั้งอยูใกลทะเลจากทุกดานในคาบสมุทรมลายู พื้นที่ทั้งประเทศไดรับปริมาณฝนอยางเพียงพอ ยกเวนบาง
               พื้นที่เทานั้น แตระยะเวลาของฤดูฝนและปริมาณฝนมีความแตกตางกันไปตามภูมิภาคและระดับความสูง

                        ประเทศไทยยังคงมีความหลากหลายทางชีวภาพของทั้งพืชและสัตวอยูมาก อันเปนรากฐานอันมั่นคง

               ของการผลิตในภาคการเกษตร และประเทศไทยไดมีผลไมเมืองรอนหลากชนิดพื้นที่ราว 29% ของประเทศไทย
               เปนปาไม รวมไปถึงพื้นที่ปลูกยางพาราและกิจกรรมปลูกปาบางแหงประเทศไทยมีเขตรักษาพันธุสัตวปากวา 50

               แหง เขตหามลาสัตวปาอีก 56 แหง โดยพื้นที่ 12% ของประเทศเปนอุทยานแหงชาติ (ปจจุบันมี 110 แหง) และ

               อีกเกือบ 20% เปนเขตปาสงวนประเทศไทยมีพืช 15,000 สปชีส คิดเปน 8% ของสปชีสพืชทั้งหมดบนโลกใน

               ประเทศไทย พบนกจํานวน 982 ชนิด นอกจากนี้ ยังเปนถิ่นที่อยูของสัตวสะเทินน้ําสะเทินบก นก สัตวเลี้ยงลูก
               ดวยน้ํานม และสัตวเลื้อยคลานกวา 1,715 สปชีส
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62