Page 53 - หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม
P. 53
43
ภูมิภาค
สภาวิจัยแหงชาติไดแบงประเทศไทยออกเปน 6 ภูมิภาค ตามลักษณะธรรมชาติ รวมไปถึงธรณี
สันฐานและทางน้ํา รวมไปถึงรูปแบบวัฒนธรรมมนุษย โดยภูมิภาคตาง ๆ ไดแก ภาคเหนือ ภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก และภาคใต ภูมิภาคทางภูมิศาสตรทั้งหกนี้มีความ
แตกตางกันโดยมีเอกลักษณของตนเองในดานประชากร ทรัพยากรพื้นฐาน ลักษณะธรรมชาติ และระดับของ
พัฒนาการทางสังคมและเศรษฐกิจ ความหลากหลายในภูมิภาคตาง ๆ เหลานี้ไดเปนสวนสําคัญตอลักษณะทาง
กายภาพของประเทศไทย
ปาสนในจังหวัดเชียงใหม
ภาคเหนือ มีลักษณะภูมิประเทศแบบภูเขาสูงสลับกับหุบเขาและพื้นที่สูงซึ่งติดตอกับเขตที่ราบลุม
ตอนกลางของประเทศ มีทิวเขาที่วางตัวยาวในแนวเหนือ-ใต ระหวางทิวเขาจะมีหุบเขาและแองที่ราบระหวาง
ภูเขาเปนที่ตั้งของตัวจังหวัด เชน จังหวัดเชียงราย เชียงใหม แมฮองสอน นาน และแพร ทิวเขาที่สําคัญไดแก ทิว
เขาถนนธงชัย ทิวเขาแดนลาว ทิวเขาขุนตาน ทิวเขาผีปนน้ํา และทิวเขาหลวงพระบาง ชวงฤดูหนาวในเขตภูเขา
ของภาค อุณหภูมิต่ําเหมาะสมตอการปลูกไมผลเมืองหนาว อาทิ ลิ้นจี่และสตรอเบอรี่ แมน้ําในภาคเหนือหลาย
สาย รวมไปถึงแมน้ําปง แมน้ําวัง แมน้ํายมและแมน้ํานาน ไหลมาบรรจบกันและกอใหเกิดเปนที่ราบลุมแมน้ํา
เจาพระยา ในอดีต ลักษณะทางธรรมชาติเหลานี้ทําใหภาคเหนือสามารถทําการเกษตรไดหลายประเภท รวมไป
ถึงการทํานาในหุบเขาและการปลูกพืชหมุนเวียนในเขตพื้นที่สูง
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หรือ ภาคอีสาน ประกอบดวยจังหวัด 19 จังหวัดมีเนื้อที่ 168,854 ตาราง
กิโลเมตร หรือประมาณหนึ่งในสามของพื้นที่ทั้งประเทศ สภาพพื้นที่อยูบนที่ราบสูง มีแมน้ําโขงเปนแมน้ําสาย
หลัก อาชีพหลัก คือ การทํานา ปลูกออย มันสําปะหลัง ยางพารา และผลิตผาไหมเปนอุตสาหกรรม ซึ่งมีบทบาท