Page 58 - หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม
P. 58

48



                       3.3 ทรัพยากรธรรมชาติ



                       ประเทศไทยเปนประเทศที่มีทรัพยากรธรรมชาติอยูอยางมากมายแบงได ดังนี้
                         ทรัพยากรดิน ในประเทศไทยแบงออกเปน 4 ชนิด ไดแกดินเหนียว พบไดในบริเวณแองโคราช ที่

               ราบลุมแมน้ําบางปะกง แมน้ําแมกลอง แมน้ําตาป แมน้ําปากพนัง ดินรวน พบมากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

               ภาคตะวันออก ภาคกลางตอนบนและภาคเหนือ ดินทราย พบมากในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ดินอินทรีย พบ
               มากในปาพรุ เชน ปาพรุสิรินธร จังหวัดนราธิวาส

                        ทรัพยากรปาไม ปาไมจะกระจายอยูทั่วประเทศ มีลักษณะแตกตางกันตามภูมิประเทศและภูมิอากาศ มี

               2 ประเภท ไดแก ปาผลัดใบ พบไดในทุกภูมิภาค แตภาคใตพบนอยที่สุด และปาไมผลัดใบ สวนใหญอยูในพื้นที่

               ภาคใต และบนภูเขาสูงที่มีความชุมชื้น เชน อุทยานแหงชาติดอยอินทนนท แหงชาติเขาใหญ แหงชาติภูสอยดาว
               เปนตน

                        ทรัพยากรน้ํา ในประเทศไทยมีแหลงน้ําสําคัญ 2 แหลงคือ จากน้ําผิวดิน ซึ่งมีแมน้ําเจาพระยาเปน

               แมน้ําสายสําคัญที่สุดของประเทศ นอกจากนี้ยังมีแมน้ําตาง ๆ ตามภูมิภาค เชน แมน้ํามูล ชี ปง วัง ยม นาน แม

               กลอง ตาป เปนตน และจากน้ําบาดาล
                        ทรัพยากรแรธาตุ พบอยูทั่วไปในทุกภูมิภาคของประเทศไทย แตกตางกันตามสภาพทางธรณีวิทยา

               เชน สังกะสีพบมากในภาคตะวันตกและภาคเหนือ ดีบุกพบมากในภาคใต แรรัตนชาติพบมากในภาคตะวันออก

               และแรเชื้อเพลิง ซึ่งพบมากในอาวไทย เชน แกสธรรมชาติ สวนลิกไนตจะพบมากในภาคเหนือ


                       3.4 ศิลปะ  วัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิต

                        ประเทศไทย ตั้งอยูบนพื้นฐานของเอกลักษณและศรัทธาของไทยสมัยใหม ทําใหพุทธศาสนาใน

               ประเทศไทยไดมีการพัฒนาตามกาลเวลา ซึ่งรวมไปถึงการรวมเอาความเชื่อทองถิ่นที่มาจากศาสนาฮินดู การถือผี

               และการบูชาบรรพบุรุษสวนชาวมุสลิมอาศัยอยูทางภาคใตของประเทศไทยเปนสวนใหญ รวมไปถึงชาวจีนโพน
               ทะเลที่เขามามีสวนสําคัญอยูในสังคมไทย โดยเฉพาะอยางยิ่ง ในพื้นที่กรุงเทพมหานครและใกลเคียง ซึ่งการ

               ปรับตัวเขากับสังคมไทยไดเปนอยางดี ทําใหกลุมชาวจีน มีตําแหนงและบทบาททางเศรษฐกิจและการเมือง

                        วัฒนธรรมไทยมีสวนที่คลายคลึงกับวัฒนธรรมเอเชีย กลาวคือ มีการใหความเคารพแกบรรพบุรุษ ซึ่ง
               เปนการยึดถือปฏิบัติกันมาอยางชานาน ชาวไทยมักจะมีความเปนเจาบานและความกรุณาอยางดี แตก็มี


               ความรูสึกในการแบงชนชั้นอยางรุนแรงเชนกัน ความอาวุโสเปนแนวคิดที่สําคัญในวัฒนธรรมไทยอยางหนึ่ง ผู
               อาวุโสจะตองปกครองดูแลครอบครัวของตนตามธรรมเนียม และนองจะตองเชื่อฟงพี่
                        การทักทายตามประเพณีของไทย คือ การไหว ผูนอยมักจะเปนผูทักทายกอนเมื่อพบกัน และผูที่

               อาวุโสกวาก็จะทักทายตอบในลักษณะที่คลาย ๆ กัน สถานะและตําแหนงทางสังคมก็มีสวนตอการตัดสินวาผูใด
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63