Page 54 - หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม
P. 54

44



               สําคัญตอเศรษฐกิจ เนื่องจากผาไหมเปนที่นิยมทั้งคนไทยและชาวตางชาติ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ แบง

               ลักษณะภูมิประเทศเปน 5 เขต ไดแก
                              ทิวเขาดานทิศตะวันตก ประกอบดวยทิวเขาดงพญาเย็น มีลักษณะเดนคือสวนที่เปน

               หินทรายจะยกตัวสูงขึ้นเปนขอบชันกับพื้นที่ภาคกลาง และมีภูเขายอดตัดจํานวนมาก ไดแก ภูเรือ ภูหอ ภูหลวง

               ภูกระดึง ภูเขาดังกลาวสวนใหญเปนภูเขาหินทราย พบภูเขาหินปูนแทรกสลับอยูบาง

                              ทิวเขาทางดานใต  มีทิวเขาสันกําแพงและทิวเขาพนมดงรักเปนทิวเขาหลัก ทิวเขา
               สันกําแพงมีลักษณะเปนหินปูน หินดินดานภูเขาไฟ และหินทราย สวนทิวเขาพนมดงรักเปนทิวเขาที่เปนภูเขา

               หินทราย และยังมีภูเขาไฟดับแลวตั้งอยู

                              ทิวเขาตอนกลาง เปนเนินและภูเขาเตี้ย เรียกวา ทิวเขาภูพาน

                              ที่ราบแองโคราช เปนพื้นที่ราบของลุมน้ําชี และมูล ที่ไหลลงสูแมน้ําโขง เปนที่ราบที่มีเนื้อที่
               กวางที่สุดของประเทศ จุดเดนของแองโคราชคือ มีการพบซากดึกดําบรรพ ไมกลายเปนหิน ชางโบราณและ

               ไดโนเสารจํานวนมาก

                              แองสกลนคร เปนที่ราบบริเวณฝงแมน้ําโขง มีแมน้ําสายสั้น ๆ เชน แมน้ําสงคราม เปนตน
               บริเวณนี้มีหนองน้ําขนาดใหญ เรียกวา "หนองหาน" เกิดจากการยุบตัวจากการละลายของเกลือหิน






























                                                        ทิวเขาเพชรบูรณ


                        ภาคกลาง เปนพื้นที่ที่มีความสมบูรณทางธรรมชาติ จนไดรับการขนานนามวา "อูขาวอูน้ํา" มีระบบ

               ชลประทานที่ไดพัฒนาสําหรับเกษตรกรรมทํานาในภาคกลาง โดยไดพัฒนาตอเนื่องมาตั้งแตอาณาจักรสุโขทัย
               มาจนถึงปจจุบัน ภูมิประเทศเปนที่ราบลุมมีแนวภูเขาเปนขอบดานตะวันออกและตะวันตก ไดแก ทิวเขา
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59