Page 50 - หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม
P. 50

40



                        2.2 จุดเดนของผลิตภัณฑผาในงานหัตถกรรมพื้นบาน    ผาในงานหัตถกรรมพื้นบานโดยทั่วไปมีอยู

               สองลักษณะคือ ผาพื้นและผาลาย  ผาพื้นไดแก ผาที่ทอเปนสีพื้นธรรมดาไมมีลวดลาย ใชสีตามความนิยม  ใน
               สมัยโบราณสีที่นิยมทอกันคือ สีน้ําเงิน สีกรมทาและสีเทา  สวนผาลายนั้นเปนผาที่มีการประดิษฐลวดลายหรือ

               ดอกดวงเพิ่มขึ้นเพื่อความงดงาม  มีชื่อเรียกเฉพาะตามวิธี เชน ถาใชทอ (เปนลายหรือดอก) เรียกวาผายก  ถาทอ

               ดวยเสนดายคนละสีกับสีพื้น เปนลายขวาง และ    ตาหมากรุกเรียกวา ลายตาโถง  ถาใชเขียนหรือพิมพจากแทง

               แมพิมพโดยใชมือกด เรียกวาผาพิมพ หรือผาลาย ซึ่งเปนผาพิมพลาย ที่คนไทยเขียนลวดลายเปนตัวอยางสงไป
               พิมพที่ตางประเทศ เชน อินเดียผาเขียนลายสวนมากเขียนลายทอง แตเดิมชาวบานรูจักทอแตผาพื้น (คือผาทอพื้น

               เรียบไมยกดอกและมีลวดลาย) สวนผาลาย (หรือผายก) นั้น เพิ่งมารูจักทําขึ้นในสมัยรัตนโกสินทรตอนตน หรือ

               สมัยอยุธยาตอนปลาย

                        การทอผานี้มีอยูในทุกภาคของประเทศ หลักการและวิธีการนั้นคลายคลึงกันทั้งหมด แตอาจมี

               ขอปลีกยอยแตกตางกันบาง การทอจะทําดวยมือโดยตลอดใชเครื่องมือเครื่องใชแบบงายๆ ซึ่งตองอาศัยความ

               ชํานาญและความประณีต
                        การทอผาที่ชาวบานทํากันนั้นตองอาศัยความจําและความชํานาญเปนหลัก  เพราะไมมีเขียนบอกไว

               เปนตํารา  นอกจากนี้แลวยังพยายามรักษารูปแบบและวิธีการเอาไวอยางเครงครัด        จึงนับวาเปนการอนุรักษ

               ศิลปกรรมแขนงนี้ไวอีกดวย


                        2.3 สถานที่ทองเที่ยว  จุดเดนที่นาสนใจ อาณาเขตพื้นที่ของปาสงวนแหงชาติปาเขาพระวิหาร ปาฝง

               ซายลําโดมใหญ  ทองที่อําเภอกันทรลักษ จังหวัดศรีสะเกษ และอําเภอน้ํายืน จังหวัดอุบลราชธานี  สภาพ
               ธรรมชาติที่มีทัศนียภาพสวยงามเดนชัดเฉพาะตัวอยูหลายแหง มีสภาพปาไมที่อุดมสมบูรณ  เปนแหลงของแร

               ธาตุหลายชนิด  ตลอดจนโบราณสถานสําคัญๆ  อีกหลายจุดที่สามารถจัดใหเปนแหลงนันทนาการควรคาแก

               การศึกษาหาความรู และพักผอนหยอนใจไดเปนอยางดีอีกหลายแหง เชน ผามออีแดง   นับเปนสถานที่ตรงจุด

               ชายแดนเขตประเทศไทยติดตอกับราชอาณาจักรกัมพูชา ใกลทางขึ้นสูปราสาทเขาพระวิหารที่มีทัศนียภาพ
               สวยงาม เปนจุดชมวิวทิวทัศนพื้นที่แนวชายแดนราชอาณาจักรกัมพูชา และบริเวณปราสาทเขาพระวิหารไดอยาง

               สวยงามและกวางไกลที่สุด จุดสูงสุดของหนาผามออีแดง สามารถสองกลองชมปราสาทเขาพระวิหารไดชัดเจน

               มีความสวยงามและมีคุณคาทางประวัติศาสตรและโบราณสถาน    และหากในอนาคตอันใกลนี้ประเทศ
               ไทย    สามารถเปดความสัมพันธไมตรีกับราชอาณาจักรกัมพูชาไดแลว   เชื่อวาคงไดมีการใชประโยชนรวมกัน

               ทั้งสองประเทศไดอยางใกลชิดและมีคายิ่งนัก ปราสาทโดนตวล  เปนปราสาท หนึ่งที่สําคัญอีกแหงหนึ่งที่มี

               ศิลปวัฒนธรรมนาศึกษาอยูมาก     ตั้งอยูตรงเขตชายแดนของประเทศไทยอยูหางจากหนาผาเพียงเล็กนอย
               ประมาณ 300 เมตร สถูปคู     เปนโบราณวัตถุมีอยู 2 องค ตั้งคูอยูบริเวณทิศตะวันตกของผามออีแดง ถาเดินทาง

               จากผามออีแดงไปยังเขาพระวิหารก็จะผานสถูปคูนี้  มีลักษณะเปนสี่เหลี่ยมและสวนบนกลมกอสรางดวยหิน
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55