Page 20 - เล่มที่ 1 สรุปสาระสำคัญ RCEP
P. 20
- 16 -
บทที่ 7 การเยียวยาทางการค้า
้
่
บทการเยียวยาทางการค้า ประกอบด้วย 16 ข้อบท (แบ่งเป็น 2 สวนส าคัญ คือ มาตรการปกปอง
ุ
ภายใตกรอบ RCEP และมาตรการตอบโตการทมตลาดและการอุดหนุน) และภาคผนวก 7 เอ (วธีปฏิบัติ
่
้
้
ิ
เกี่ยวกับกระบวนการตอบโต้การทุ่มตลาดและการตอบโต้การอุดหนุน)
ี
ื
ึ
7.1 อตสาหกรรมภายในของภาคสมาชิกยังคงสามารถย่นคาขอใช้มาตรการปกป้อง รวมถงมาตรการ
ุ
ุ
่
ุ
์
ี
ตอบโต้การทมตลาดและการอุดหนนภายใต้องคการการคาโลก หากอุตสาหกรรมภายในของภาคประสบความ
้
เสียหายอย่างร้ายแรงจากการน าเข้าที่เพิ่มขึ้น หรือความเสียหายอย่างส าคัญจากการทุ่มตลาดหรือการอุดหนุน
7.2 หากอุตสาหกรรมภายในของภาคีได้รับความเสียหายอย่างร้ายแรงจากการทะลักเข้ามาของสินค้า
้
ิ
้
ื
่
้
ิ
จากการเปดตลาดการคาสนคาภายใต้ความตกลง RCEP สามารถยนคาขอใช้มาตรการปกปองในระยะเวลาการ
ปรับตัวภายใต้กรอบ RCEP เพื่อก าหนดอัตราอากรปกป้องเทียบเท่าระดับ MFN เป็นระยะเวลาครั้งละไม่เกิน 3 ปี
ี
่
ี
ิ
ี
้
เว้นแตกรณพเศษทอาจขยายเวลาออกไปอีก 1 ป อยางไรกตาม ระยะเวลาการใช้มาตรการปกปองในระยะเวลา
่
็
่
การปรบตัวภายใต้กรอบ RCEP ทั้งหมดรวมแล้วจะต้องไม่เกิน 4 ปี ทั้งนี้ การก าหนดมาตรการปกป้องใน
ั
ั
ระยะเวลาปรับตัวภายใต้กรอบ RCEP จะต้องอยู่ภายในกรอบเวลาที่ก าหนด และจะต้องมีการเจรจาชดเชยให้กบ
ภาคีผู้ส่งออกที่ได้รับผลกระทบจากการบังคับใช้มาตรการดังกล่าว
7.3 กรณีที่มีความจ าเป็นเร่งด่วนซึ่งหากด าเนินการล่าช้าอาจเกิดความเสียหายที่ไม่สามารถเยียวยาได้
่
้
ู
้
ี
ิ
ภาคผนาเขาสามารถกาหนดมาตรการชั่วคราวระหว่างการด าเนนการไตสวนได โดยการบงคบใช้มาตรการ
ั
้
ั
ชั่วคราวจะต้องไม่เกิน 200 วัน
้
ี
ู
ู
ี
้
7.4 เพอยกระดับความความโปรงใส ได้มการกาหนดแนวทางการแจงขอมลของภาคผไต่สวนมาตรการ
้
่
ื
่
ั
ตอบโต้การทุ่มตลาดและการอดหนุน โดยหน่วยงานไต่สวนจะต้องแจ้งเป็นลายลักษณ์อกษรเมื่อได้รับค าขอให้
ุ
ุ
ิ
่
ื
พิจารณาก าหนดมาตรการแก่ภาคีที่ถูกร้องว่ามีการทมตลาดหรอการอดหนุนก่อนการเปดไต่สวนตามกรอบเวลาท ี ่
ุ
ก าหนดไว้ รวมถึงการเปิดโอกาสให้มีการปรึกษาหารือระหว่างกันกรณีการไต่สวนการอุดหนุน
7.5 จะไม่มีการน าบทการระงับข้อพิพาทมาใช้กับบทนี้ โดยจะน ามาพิจารณาในช่วงการทบทวนทั่วไป
ิ
บทที่ 8 การค้าบรการ
บทการค้าบริการ ประกอบดวย 25 ขอบท ภาคผนวก 8 เอ (บรการดานการเงน) ภาคผนวก 8 บี
้
้
ิ
ิ
้
(บริการโทรคมนาคม) และภาคผนวก 8 ซี (บริการวิชาชีพ)
ั
ี
8.1 กาหนดพนธกรณทภาคตองปฏิบัตในการใช้บังคบมาตรการสาหรับการคาบริการในรูปแบบต่างๆ
้
ิ
ี
่
้
ี
ั
่
ิ
ไดแก การให้บริการขามพรมแดน (Mode 1) การบรโภคในต่างประเทศ (Mode 2) การจัดตั้งธุรกิจ (Mode 3)
้
้
ุ
การให้บริการโดยบคคลธรรมดา (Mode 4) ทั้งนี้ ไม่รวมถึงการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ การอดหนุนและเงินอดหนุน
ุ
ุ
การขนส่งทางทะเลในน่านน้ าภายในประเทศ บริการที่ให้จากการใช้อานาจหน้าที่ของรัฐบาล และสิทธิใน
การจราจรทางอากาศ
8.2 พันธกรณีครอบคลุมประเด็น เช่น การไม่เลือกปฏิบัติต่อผู้ให้บริการหรือการบริการของภาคีอืน การ
่
ให้การปฏิบัติต่อผู้ให้บริการหรือการบริการของภาคีอื่นไม่ด้อยไปกว่าผู้ให้บริการหรือการบริการของภาคีอนๆ หรือ
่
ื
ประเทศที่ไม่ใช่ภาคี
ิ
8.3 การผูกพันเปิดตลาดบริการให้ผู้ให้บริการของประเทศสมาชิกเข้ามาใหบรการ/ลงทุน เพมเติมจากที่
ิ่
้
ู
้
ภาคผกพนภายใตความตกลงว่าด้วยการคาบริการ (GATS) ขององคการการค้าโลก และความตกลงการค้าเสรี
ั
ี
์
้
4
อาเซียน-คเจรจา (อาเซียน+1) โดยจัดท าข้อผูกพนในรูปแบบ Positive List Approach หรือ Negative List
ั
่
ู
4
การจัดท าตารางข้อผูกพัน ซึ่งระบุสาขาบริการที่ผูกพันเปิดตลาดและระบุข้อจ ากัดด้านการเข้าสู่ตลาด และการประติบัติเยี่ยงคน
ชาติ (หากมี)