Page 36 - คู่มืออบรม Smart ONIE เพื่อสร้าง Smart Farmer เพื่อฝึกอบรมเกษตรกรต้นแบบ ( Master Trainer) สำนักงาน กศน.จังหวัดศรีสะเกษ
P. 36

ระบบเกษตรเพื่อสุขภำพและสิ่งแวดล้อม
                         ทุกวันนี นั นก็มีเกษตรอีกหลายระบบเป็นอย่างมาก ที่ได้มีการพัฒนาขึ น เพราะการพัฒนาระบบเกษตร

                ในยุคนี นั นก็ถือเป็นอีกหนึ่งสิ่งที่สําคัญเป็นอย่างมาก เพราะทุกคนนั นก็จะได้รับการทําการเกษตรในรูปแบบที่ดี
                มากยิ่งขึ นนั่นเอง แถมระบบเกษตรในยุคนี นั นก็ยังมีความปลอดภัยเป็นอย่างมากซึ่งระบบเกษตรเพื่อสุขภาพและ

                สิ่งแวดล้อมนั นจริงๆ แล้วก็สามารถที่จะแบ่งออกได้เป็น 3 กลุ่มใหญ่ด้วยกัน คือ

                          1. ระบบเกษตรที่เน้นความสําคัญในด้านความปลอดภัยของผลผลิตในการบริโภค
                          2. ระบบที่ต้องการสร้างความมั่นคงให้กับการผลิตและเกษตรกร

                          3. ระบบที่ให้ความสําคัญกับเรื่องการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม


                เกษตรอินทรีย์
                            เกษตรอินทรีย์ คือ ระบบกำรผลิตที่ให้ควำมส ำคัญกับควำมยั่งยืนของสุขภำพดิน
                ระบบนิเวศ และผู้คน เกษตรอินทรีย์พึ่งพาอาศัยกระบวนการทางนิเวศวิทยา ความหลากหลายทางชีวภาพ และ
                วงจรธรรมชาติ ที่มีลักษณะเฉพาะของแต่ละพื นที่ แทนที่จะใช้ปัจจัยการผลิตที่มีผลกระทบทางลบ เกษตรอินทรีย์

                ผสมผสานองค์ความรู้พื นบ้าน นวัตกรรม และความรู้ทางวิทยาศาสตร์ในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และส่งเสริม

                ความสัมพันธ์ที่เป็นธรรม และคุณภาพชีวิตที่ดีของทุกผู้คนและสิ่งมีชีวิตต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง” นัยของเกษตรอินทรีย์
                ตามนิยามของสหพันธ์ เกษตรอินทรีย์นานาชาติมองเกษตรอินทรีย์ในฐานะของการเกษตรแบบองค์รวม ที่ให้

                ความสําคัญในเบื องต้นกับการอนุรักษ์และฟื้นฟูระบบนิเวศการเกษตรและทรัพยากรธรรมชาติ แต่ขณะเดียวกันก็
                ไม่ได้ละเลยมิติด้านสังคมและเศรษฐกิจ เพราะความยั่งยืนทางด้านสิ่งแวดล้อมไม่อาจดํารงอยู่ได้โดยแยกออกจาก

                ความยั่งยืนทางสังคมและเศรษฐกิจของเกษตรกรและสังคมโดยรวม


                เกษตรธรรมชำติ
                         เกษตรธรรมชำติ คือ ระบบเกษตรที่ร่วมกับธรรมชาติได้อย่างสอดคล้อง สร้างผลผลิตพืชและสัตว์

                ให้เหมาะสมกับระบบนิเวศของพื นที่ โดยไม่แบ่งแยกทุกสิ่งออกจากธรรมชาติ พยายามแทรกแซงการใช้ปัจจัย
                การผลิตและเทคโนโลยีทางการผลิตให้น้อยที่สุด ทําให้ระบบการเกษตรและธรรมชาติเกื อกูลซึ่งกันและกันอย่าง

                เป็นองค์รวม เพื่อให้เกษตรกรสามารถมีชีวิตอยู่อย่างพอเพียงและพึ่งตนเองได้

                         รูปแบบการทําเกษตรธรรมชาติ จะเน้นการนํากระบวนการควบคุมธรรมชาติโดยธรรมชาติ โดยไม่มี
                การใช้สารเคมีในการป้องกันและกําจัดศัตรูพืช รวมทั งไม่ใช้ปุ๋ยเคมีหรือเทคโนโลยีใดๆ เข้ามาแทรกแซงหรือใช้ใน

                การปรับปรุงทรัพยากรธรรมชาติ การดําเนินกิจกรรมธรรมชาติจะต้องไม่ไถพรวนดิน ซึ่งก่อให้เกิดการทําลาย
                โครงสร้างดิน เนื่องจากธรรมชาติได้สร้างให้ดินมีกระบวนการที่เป็นการไถพรวนในตัวเอง

                         โดยการชอนไชจากรากพืช สัตว์ แมลง และสิ่งมีชีวิตเล็กๆในดินอยู่แล้ว การไม่ใช้ปุ๋ยเคมีจะมีผลดีต่อ

                โครงสร้างดินและความอุดมสมบูรณ์ของดินในระยะยาว การไม่กําจัดวัชพืชในฐานะที่เปรียบเสมือนเป็นพืชคลุม
                ดิน หรือพี่เลี ยงให้กับต้นไม้ปลูกใหม่ เกษตรกรต้องเรียนรู้วิธีการใช้ประโยชน์จากวัชพืช เช่น ใช้วัชพืชควบคุม



                                                             -31-
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41