Page 22 - คณิตศาสตร์ ม.ปลาย
P. 22

22



                   เรื่องที่  1  จํานวนตรรกยะ และจํานวนอตรรกยะ


                       1.1  จํานวนตรรกยะ    หมายถึง  จํานวนที่เขียนแทนในรูปเศษสวน    a   เมื่อ a และ b เปนจํานวนเต็ม
                                                                                b
                    และ  ≠b  0   ตัวอยาง  จํานวนที่เปนจํานวนตรรกยะ เชน จํานวนเต็ม , เศษสวน , ทศนิยมซ้ํา เปนตน

                                                                                              a
                       1.2  จํานวนอตรรกยะ   หมายถึง  จํานวนที่ไมสามารถเขียนใหอยูในรูปของเศษสวน  เมื่อ a และ b
                                                                                              b
                    เปนจํานวนเต็มและ b ≠  0   จํานวนอตรรกยะประกอบดวยจํานวนตอไปนี้   เปนทศนิยมแบบไมซ้ํา เชน
                    1.235478936...     5.223322233322223333...


                       ความแตกตางระหวางจํานวนตรรกยะ และจํานวนอตรรกยะ

                        จํานวน                                     ความแตกตาง

                                       จํานวนเต็ม   เศษสวน           ทศนิยม              คาทางพีชคณิต

                                                               - ทศนิยมรูจบ         - คาทางพีชคณิตที่หาคาได
                        ตรรกยะ             มี          มี      - ทศนิยมรูจบแบบซ้ํา  ลงตัว หรือไดคําตอบเปน

                                                                                     เศษสวน

                                                               - ทศนิยมไมรูจบ      - คาทางพีชคณิตที่มีคา
                       อตรรกยะ           ไมมี        ไมมี                          เฉพาะ เชน


                                                                                        , 2  , 3  , 5  e , π  เปนตน


                     1.3  เลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็ม


                                               n
                          นิยามเลขยกกําลัง         a   หมายถึง       a  ×x a × a ×a…………….. × a
                                                                          n ตัว
                                 เมื่อ a  เปนจํานวนใด ๆ และ n เปนจํานวนเต็มบวก

                                       n
                                       เรียก a   วาเลขยกกําลัง ที่มี  a  เปน ฐาน และ  n  เปนเลขชี้กําลัง
                                       4
                                 เชน   5   = 5 × 5 × 5 × 5   =  625
                          ถา  a,  เปนจํานวนจริงใด m และ n เปนจํานวนเต็มบวก จะไดกฎของการยกกําลัง ดังนี้
                               b
                          กฎขอที่ 1     a m  b ⋅  =  a m+ n
                                              n

                          กฎขอที่ 2     ( ab)   =   a n b
                                                      n
                                             n
                                             n
                          กฎขอที่ 3     ( )   =    a
                                          a
                                           m
                                                    mn
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27