Page 64 - โครงการ1-10 ป๋อม
P. 64

53







                                 ความพอประมาณและความสมบูรณ์ในแต่ละระดับของพระอริยบุคคลนี้คือ ความพอเพียง
                       ของธรรมะที่จ าเป็นต้องมีนั่นเอง”ความพอเพียง”ในจิตใจของมนุษย์เป็นสิ่งที่ส าคัญที่สุดและเป็น”

                       ความพอเพียง”ในระดับรากฐานที่สามารถส่งผลกระทบอย่างมหาศาลต่อความพอเพียงในด้านอื่นๆ

                       ทั้งหมดหลักธรรมในพระพุทธศาสนาได้ชี้ชัดถึงตัวการส าคัญที่เป็นสาเหตุของการท าลาย”ความ

                       พอเพียง”ในจิตใจของมนุษย์สิ่งนั้นคือ “ตัณหา”หรือ”ความโลภ


                                “ตัณหา”หรือ”ความโลภ” หมายถึง “ความต้องการ”หรือภาษาธรรมะให้ความหมายว่า

                       “ความ-ทะยานอยาก”เพื่อให้เข้าใจอย่างถ่องแท้ต้องเข้าใจความจริงของธรรมชาติชีวิตให้ถูกต้องก่อน
                       ว่าชีวิตคืออะไร ต้องการอะไร เพื่ออะไร เพราะธรรมชาติของชีวิตเองมีความต้องการตามธรรมชาติ

                       เหมือนกัน


                                 ความต้องการของชีวิตตามธรรมชาติเป็นสิ่งบังคับชีวิตให้ต้องท าหน้าที่แสวงหาสิ่งที่เป็นความ

                       ต้องการ ซึ่งไม่ท าไม่ได้ เพราะจะท าให้ธรรมชาติของชีวิตไม่สามารถด าเนินและด ารงอยู่ต่อไปได้อย่าง

                       ปกติสุขและยั่งยืน ความต้องการของธรรมชาตินี้ ไม่ใช่ “ตัณหา” หรือ “ความโลภ" เมื่อเข้าใจความ
                       ต้องการของชีวิตตามธรรมชาติที่เป็นจริงแล้วจึงจะรู้จักหรือมองออกว่า “ตัณหา” หรือ “ความโลภ"

                       คืออะไร กล่าวโดยสรุป “ตัณหา” หรือ “ความโลภ" คือความต้องการที่เกินเลยไปจากความต้องการ

                       ของชีวิตตามที่เป็นจริงหรือที่แท้จริงของชีวิต


                                 “ตัณหา” หรือ “ความโลภ" ของมนุษย์ท าให้มนุษย์กินและอยู่อย่างไม่จ ากัดและไม่รู้จักพอท า

                       ให้มนุษย์เร่งการผลิตสิ่งต่าง ๆ (ที่ไม่จ าเป็นและไม่ใช่ความต้องการที่แท้จริงของชีวิต) อย่างมากมาย ซึ่ง

                       ท าให้มีการเผาผลาญและใช้พลังงานอย่างมหาศาล จนเกิดปัญหา “ภาวะโลกร้อน” จากการเร่งการ
                       ผลิตเพื่อตอบสนอง “ตัณหา” หรือ “ความโลภ" ท าให้มนุษย์ไปท าลายสิ่งต่าง ๆ ในธรรมชาติอย่าง

                       มโหฬาร เพื่อน ามาใช้เป็นวัตถุดิบ และยังไปท าลายป่าต้นน้ า ป่าบนภูเขา ตลอดจนแม่น้ า ล าคลองซึ่ง

                       เป็นเสมือนหัวใจและเส้นเลือดของธรรมชาติ จนท าให้เกิดการขาดความสมดุลของธรรมชาติอย่าง

                       รุนแรง


                                 นอกจากนั้น ในกระบวนการผลิตของมนุษย์หรือแม้แต่สิ่งที่มนุษย์ผลิตขึ้นมา ส่วนใหญ่ท าให้
                       เกิดสิ่งที่เป็น “ของเสีย” และกลายเป็นมลพิษตกค้างในธรรมชาติ ท าให้เกิดมลพิษทั้งบนผืนดิน ใน

                       แม่น้ า ล าคลอง ทะเล มหาสมุทร ในอากาศที่หายใจ แม้กระทั่งในชั้นของบรรยากาศที่สูงขึ้นไป ซึ่ง

                       ส่งผลเสียต่อการด ารงอยู่ของมนุษย์และสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ อย่างมากมาย และ "ตัณหา” หรือ “ความ

                       โลภ” ของมนุษย์นี้เองที่ท าลายระบบการอยู่ร่วมกันและความสัมพันธ์ที่ดีในสังคม ท าให้เกิดการ
   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69