Page 59 - โครงการ1-10 ป๋อม
P. 59
48
เมื่อปฏิบัติในเรื่องเหล่านี้ถูกต้องแล้ว จะมีผลไปถึงเรื่องอื่น ๆ เองโดยอัตโนมัติอาจจ าแนกได้เป็น 4
เรื่องที่ส าคัญ คือ เรื่องสิ่งแวดล้อมในธรรมชาติ เรื่องเกี่ยวกับกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ เรื่องการ
บริหารและพัฒนากาย และเรื่องการบริหารและพัฒนาจิต
2.6.1 การประยุกต์ “ความพอเพียง” กับ สิ่งแวดล้อมในธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมในธรรมชาติเป็นเสมือน “อวัยวะของธรรมชาติ" เหมือนอวัยวะของร่างกาย ซึ่ง
ล้วนเป็นสิ่งส าคัญและมีหน้าที่แตกต่างกันไป มีทั้งส่วนที่ไม่สามารถควบคุมได้ เช่น การท างานของ
หัวใจ และอวัยวภายในทั้งหลาย และมีส่วนที่สามารถควบคุมได้ เช่น ระบบกล้ามเนื้อลายที่ท าให้
อวัยวะต่าง ๆสามารถเคลื่อนไหวได้ เช่น การเดิน การหยิบ การกระพริบตา เป็นต้น แต่การท างาน
ของอวัยวะที่ส าคัญจริง ๆ ของร่างกายนั้นเราไม่สามารถควบคุมและสั่งการได้ ซึ่งอาจนับว่าเป็นข้อดี
เพราะหากเข้าไปควบคุมและสั่งการได้ การท างานของอวัยวะต่าง ๆ อาจผิดปกติ และไม่สามารถทน
อยู่ได้นาน เช่นเดียวกับสิ่งแวดล้อมในธรรมชาติที่มีทั้งในส่วนที่ไม่สามารถเข้าไปบริหารและจัดการได้
ซึ่งเป็นส่วนหรืออวัยวะที่ส าคัญที่สุดของธรรมชาติ เช่น ดวงอาทิตย์ ลม ฝน หิมะ เป็นต้น
ดังนั้น การกระท าที่กระทบต่อ”ธาตุไฟ”และท าให้”ธาตุไฟ” หรืออุณหภูมิในธรรมชาติเกิด
การเปลี่ยนแปลง ดังการปรากฏของ “ภาวะโลกร้อน”ในปัจจุบัน จึงเป็นเรื่องใหญ่ที่ร้ายแรงและ
สามารถส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม รวมถึงสิ่งมีชีวิตทั้งหลาย เพราะการกระทบส่วนที่เป็นรากฐานที่
รองรับความสมดุลของธรรมชาติทั้งหมด ซึ่งเป็นสิ่งที่ต้องตระหนักที่สุดและต้องช่วยกันแก้ไขอย่าง
รีบด่วนกลอนที่ความหายนะอันใหญ่หลวงจะตามมา
ปัจจุบัน การเผาผลาญเชื้อเพลิงของมนุษย์เพื่อใช้เป็นพลังงานในด้านต่างๆเพิ่มขึ้นอย่าง
มหาศาลประกอบกับคาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดจากการเผาผลาญเชื้อเพลิงนั้นก่อให้เกิดปฏิกิริยาเรือน
กระจกกับความร้อนเอาไว้ในโลกไม่ให้ระบายออกไปในชั้นบรรยากาศได้ ท าให้ความร้อนและอุณหภูมิ
เฉลี่ยของโลกสูงขึ้น เกิดปัญหา”ภาวะโลกร้อน”ท าให้ ลม ฟ้า อากาศ ฤดูกาล ทิศทางการพัด ความ
แรงของลมการไหลของน้ าในมหาสมุทรเปลี่ยนนแปลง ที่เห็นชัดเจนคือการละลายอย่างรวดเร็วของ
ธารน้ าแข็งบนขั้วโลกซึ่งเป็นมหันตภัยที่น่ากลัวมากดังนั้นเพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นนี้มนุษย์จึงควรจะ
ตระหนักและหันมาก าหนดมาตรการต่างๆที่จะช่วยลดการใช้พลังงานต่างๆโดยรู้จักใช้อย่างพอเพียง
หัวใจส าคัญของการลดการใช้พลังงานคือ “รู้จักกิน-อยู่ แต่พอดี”
“การรู้จักกิน- อยู่แต่พอดี” นั้น มีรากฐานมาจากความรู้ความเข้าใจถึงเรื่องของชีวิตและคุณค่าของสิ่ง
ต่างๆที่มีต่อชีวิตอย่างถูกต้อง รู้ว่าชีวิตคืออะไร ต้องการคืออะไร เพื่ออะไร จะท าให้รู้จักแสวงหา รู้จัก