Page 102 - บางบอนแดนดนถนนาร_Classical
P. 102
95
บทที่ 5 เรื่องที่ 1 การสืบสานและอนุรักษ์วัดในเขตบางบอน
บทที่ 5 เรื่องที่ 2 การสืบสานและอนุรักษ์วัฒนธรรมการแต่งกายของชาวบางบอน
บทที่ 5 เรื่องที่ 3 การสืบสานและอนุรักษ์วัฒนธรรมอาหารของชาวบางบอน
สื่อประกอบการเรียน
1. หนังสือเรียน รายวิชาพื นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรมและการด้าเนินชีวิตในสังคม
4 - 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั น
พื นฐาน พุทธศักราช 2551 ผู้เขียน อาจารย์ณัทธนัท เลี่ยวไพโรจน์ พ.ศ.2561 โรงพิมพ์ บริษัทพัฒนา
คุณภาพวิชาการ (พว.) จ้ากัด
2. บทความเรื่องความส้าคัญของการสืบทอดวัฒนธรรม ผู้เขียน วัลนิสา แวเตะ สืบค้นจาก
http://thttraditionthailand.blogspot.com/2015/11/blog - post.html
3. ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้บางบอน สถานที่ตั งสนามกีฬาเฉลิมพระเกียรติบางบอน แขวง
บางบอนใต้ เขตบางบอน กรุงเทพมหานคร 10150 หมายเลขโทรศัพท์ 02–450-6946-48
เรื่องที่ 1 การสืบสานและอนุรักษ์วัดในเขตบางบอน มีหลักปฏิบัติ 4 วิธี ดังนี้
เรื่องที่ 1 วิธีที่ 1 บูรณะ หมายถึงการซ่อมแซมโบราณสถานโดยค้านึงถึงรูปแบบวัสดุและฝีมือ
ช่างดั งเดิม รวมทั งหลักฐานทางโบราณคดีและหลักฐานอื่น ๆ ในกรณีที่จ้าเป็นต้องสร้างเสริมส่วนที่
ขาดหายไป ต้องท้าให้กลมกลืนกับของเดิม ในขณะเดียวกันก็ต้องแสดงถึงความแตกต่างแยกจากวัสดุ
ของเดิมได้
เรื่องที่ 1 วิธีที่ 2 ปฏิสังขรณ์ หมายถึง การท้าให้โบราณสถานที่เสียรูปร่างคืนสู่สภาพเดิมให้ใกล้เคียง
ที่สุดเท่าที่จะท้าได้ โดยก่อสร้างขึ นมาใหม่บนพื นฐานความถูกต้อง และความเป็นจริงของหลักฐานทาง
ประวัติศาสตร์ ไม่บิดเบือนลักษณะดั งเดิม ไม่ว่าจะใช้วัสดุดั งเดิมหรือวัสดุใหม่
เรื่องที่ 1 วิธีที่ 3 การประยุกต์ใช้สอย หมายถึง การปรับเปลี่ยนโบราณสถานเพื่อประโยชน์ใช้สอยใหม่ ที่
เหมาะสมจากพื นฐานแนวคิดที่ว่า วิธีการอนุรักษ์สิ่งก่อสร้างที่ดีที่สุดคือการยังคงใช้ประโยชน์จาก
อาคารนั นอยู่ โดยประโยชน์ใช้สอยจะไม่เปลี่ยนแปลงสิ่งก่อสร้างหากมีคุณค่าหากมีการเปลี่ยนแปลงก็
สามารถแก้ไขกลับคืนสภาพเดิมได้ หรือมีการเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบน้อยที่สุด