Page 64 - Chom Thong
P. 64
57
ท าไม ท าไมจึงเกิดเหตุการณ์ขึ้น เป็นค าถามที่ส าคัญที่สุดในการศึกษา
ประวัติศาสตร์
อย่างไร เหตุการณ์นั้นส่งผลอย่างไรในปัจจุบัน
การก าหนดประเด็นที่จะศึกษา เป็นจุดเริ่มต้นของการศึกษาค้นคว้าเรื่องราวในอดีต ซึ่ง
จะเป็นแนวทางที่น าไปสู่การสืบค้นข้อมูลจาก หลักฐานประเภทต่าง ๆ ประเด็นศึกษาอาจมาจาก
ความต้องการอยากรู้อยากเห็น เรื่องราวที่เกี่ยวข้อง กับตนเองและครอบครัว หรือเกิดจากปัญหา ที่
พบเห็น ในชุมชน หรือท้องถิ่นของตนเอง รวมทั้งอาจมาจาก ความสงสัยในข้อมูลที่ได้รับว่าเป็นจริง
เช่นนั้น หรือไม่ “ความอยากรู้อยากเห็น ปัญหา และความสงสัย” จะท าให้เกิดประเด็นค าถามว่า
“ใคร ท าอะไร ที่ไหน เมื่อไร ท าไม และอย่างไร” ซึ่งจะน าไปสู่วิธีการ สืบค้นและแหล่งข้อมูล หลักฐาน
ต่อไป
กกกกกกก2. การรวบรวมข้อมูล หลักฐาน
การรวบรวมหลักฐาน คือ การรวบรวมหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อที่จะศึกษา ทั้ง
หลักฐาน ที่เป็นลายลักษณ์อักษรและไม่เป็นลายลักษณ์อักษร
การรวบรวมหลักฐาน ผู้ศึกษาต้องทราบว่าแต่ละประเภทมีความส าคัญแตกต่างกัน
กล่าวคือ หลักฐานชั้นต้นมีความส าคัญ และมีความน่าเชื่อถือมากกว่าหลักฐานชั้นรองแต่หลักฐานชั้น
รอง ก็จะเป็นตัวช่วยอธิบาย เรื่องราว ให้เข้าใจง่ายกว่าหลักฐานชั้นต้น ดังนั้น การรวบรวมหลักฐาน
จึงควรเริ่มจากหลักฐานชั้นรอง แล้วจึง ศึกษาหลักฐานชั้นต้นถ้าเป็นหลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษรก็
ควรเริ่มจากการศึกษาผลงานของนักวิชาการ ที่เชี่ยวชาญก่อนที่ไปศึกษาจากสถานที่จริงหรือของจริง
การรวบรวมหลักฐาน เป็นการสืบค้นข้อมูลจากหลักฐานต่าง ๆ เพื่อให้เข้าถึง
ข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้องกับประเด็นศึกษาที่เราต้องการสืบค้น วิธีการสืบค้นข้อมูลท าได้หลายวิธี เช่น
การสอบถาม การสัมภาษณ์ การศึกษาวิเคราะห์เอกสารหรือหนังสือ การไปชมสถานที่จริง การฟังค า
บรรยาย จากผู้ทรงคุณวุฒิ การวิเคราะห์จากรูปภาพ แผนที่ กราฟ สถิติแหล่งข้อมูล ที่เกี่ยวข้องกับ
ประเด็นศึกษา 3 แหล่ง ได้แก่
แหล่งที่ 1 บุคคลที่เป็นผู้รู้เรื่องราวนั้น ๆ ทั้งนี้อาจเป็นเพราะเป็นผู้มีความเกี่ยวข้อง
โดยตรง เช่น เป็นญาติพี่น้อง เป็นผู้มีส่วนร่วมรู้เห็นกับเหตุการณ์ หรือเป็นผู้ศึกษาค้นคว้าเรื่องราว
นั้น ๆ เช่น นักโบราณคดี นักจดหมายเหตุ นักภาษาศาสตร์
แหล่งที่ 2 สถานที่ส าคัญและแหล่งข้อมูลในท้องถิ่น เช่น วัด มัสยิด โบสถ์คริสต์
โรงเรียน ที่ว่าการอ าเภอ ส านักงานเขต เทศบาล ที่ว่าการองค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.)
ที่ว่าการองค์การบริหารส่วนต าบล (อบต.) พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น แหล่งโบราณสถาน ศูนย์วัฒนธรรม
การใช้ วิธีการทางประวัติศาสตร์วิเคราะห์เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์
แหล่งที่ 3 ห้องสมุดและแหล่งรวบรวมเอกสารทางประวัติศาสตร์ เช่น ห้องสมุด
ประชาชน หอสมุดแห่งชาติ หอจดหมายเหตุแห่งชาติ
อนึ่ง เนื่องจากท้องถิ่นแต่ละแห่งมีประวัติความเป็นมาแตกต่างกันบางแห่งมี
ความส าคัญ ในอดีตตั้งแต่สมัยสุโขทัย ต่อเนื่องมาถึงสมัยอยุธยา ธนบุรี และรัตนโกสินทร์ จึงอาจมี
เรื่องราว บันทึกในเอกสารโบราณ เช่น ศิลาจารึก พงศาวดาร ใบบอก เอกสารของชาวต่างประเทศ
ที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทยในช่วงเวลาต่าง ๆ แต่บางท้องถิ่นเป็นชุมชนที่พัฒนาขึ้น ในสมัย