Page 23 - รวมเล่ม
P. 23

12






                             2.1.5 ประโยชน์ของการสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
                             ประโยชน์ของกำรสร้ำงหนังสือิเล็กทรอนิกส์มีดังนี้ (ถำวร นุ่นละออง, 2550)

                                  2.1.5.1 ผู้อ่ำนสำมำรถอ่ำนผ่ำนทำงอินเทอร์เน็ตหรือฮำร์ดแวร์ประเภทคอมพิวเตอร์
                       และอุปกรณ์พกพำอื่นๆ ได้

                                  2.1.5.2 ผู้อ่ำนสำมำรถอ่ำนพร้อมกันได้โดยไม่ต้องรอให้อีกฝ่ำยส่งคืนห้องสมุด

                       เช่นเดียวกับหนังสือในห้องสมุดทั่วๆ ไป
                                  2.1.5.3 เนื้อหำสำระทั้งหมดเป็นสัญญำณดิจิตอล สำมำรถบันทึกลงในแผ่นซีดีรอม

                       ปำล์มบุ๊ก หนังสือในระบบเครือข่ำยหรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์รูปแบบอื่นๆ
                                  2.1.5.4 สำมำรถบันทึกได้ในปริมำณมำกๆ

                                  2.1.5.5 ผู้อ่ำนสำมำรถอ่ำนและเรียนรู้เนื้อหำสำระในเล่มได้ตำมควำมสนใจและควำม

                       แตกต่ำงของแต่ละบุคคล
                                  2.1.5.6 สำมำรถเรียกอ่ำนปรับปรุงแก้ไขได้ ท ำส ำเนำหรือโอนถ่ำยข้อมูลได้ง่ำยและ

                       รวดเร็ว

                                  2.1.5.7 มีกำรเปิดโอกำสให้ผู้อ่ำนได้ฝึกทักษะ หรือแบบฝึกหัด หรือข้อค ำถำมส ำหรับ
                       ผู้อ่ำนหรือผู้เรียนสำมำรถตรวจสอบควำมรู้ควำมเข้ำใจของตนเองจำกโปรแกรมที่มีในหนังสือ

                       อิเล็กทรอนิกส์
                                  2.1.5.8 น ำเสนอข้อมูลที่เป็นตัวหนังสือและมีภำพประกอบสวยงำมและเสียงอ่ำน

                       ประกอบในแต่ละตัวอักษร

                                  2.1.5.9 น ำเสนอข้อมูลในรูปแบบวีดีทัศน์หรือภำพยนตร์สั้นผนวกกับข้อมูลสนเทศที่อยู่
                       ในรูปตัวหนังสือ ผู้อ่ำนสำมำรถเลือกชมศึกษำข้อมูลได้

                                  2.1.5.10 เสนอข้อมูลเนื้อหำสำระ ในลักษณะแบบสื่อประสมระหว่ำงสื่อภำพ เป็นทั้ง
                       ภำพนิ่งและภำพเคลื่อนไหวกับสื่อประเภทเสียง



                             2.1.6 หลักการและทฤษฎีกระบวนการหาคุณภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
                             กำรตรวจสอบคุณภำพของเนื้อหำบทเรียนออนไลน์ต้องมีกำรตรวจสอบ ล ำดับเนื้อหำนั้นจะมี

                       กำรตรวจสอบ 2 ขั้นตอน ดังนี้ (ไพบูลณ์ เกียรติโกมล, 2551)

                                  2.1.6.1 กำรตรวจสอบควำมต่อเนื่องของเนื้อหำในหน่วยกำรเรียนเดียวกันเพื่อดูว่ำมี
                       ควำมเหมำะสมต่อเนื่องกันหรือไม่และตอบสนองวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมครบถ้วนหรือไม่

                                  2.1.6.2 กำรตรวจสอบควำมเชื่อมโยงของเนื้อหำในแต่ละหน่วยกำรเรียนเพื่อดู ว่ำกำร

                       เชื่อมโยงของเนื้อหำแต่ละหน่วยเป็นไปตำมที่ได้วิเครำะห์ไว้หรือไม่ภำยหลังจำกกำรตรวจสอบล ำดับ
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28