Page 83 - คู่มือกรทำวิจัยอย่างง่ายของครู กศน.
P. 83

ตัวอย่างที่ 1



               1. ชื่อเรื่อง     การพัฒนาทักษะการเรียนรู้ภาษาไทยของผู้เรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย กศน.ต าบลหย่วน

                              อ าเภอเชียงค า จังหวัดพะเยา โดยใช้ชุดฝึกทักษะการฟัง อ่าน พูด และเขียนภาษาไทยควบคู่กับ
                              การใช้ภาษาไทลื้อ


               2. ชื่อผู้วิจัย     นางสาวพีระพรรณ  ฉันทะ  ต าแหน่ง ครู กศน.ต าบล

               3. ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา

                            หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งจัดการศึกษา
               เพื่อตอบสนองอุดมการณ์การจัดการศึกษาตลอดชีวิต และการสร้างสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้

               ตามปรัชญา “คิดเป็น” เพื่อสร้างคุณภาพชีวิตและสังคม มีการบูรณาการอย่างสมดุล ระหว่างปัญญาธรรม

               ศีลธรรมและวัฒนธรรม มีหลักการข้อหนึ่งที่ต้องการจะส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนาและเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
               ตลอดชีวิต โดยตระหนักว่าผู้เรียนมีความส าคัญ สามารถพัฒนาตนเองได้ตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ

               โดยมีจุดหมาย เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้พื้นฐานส าหรับการด ารงชีวิตและการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง (ส านักงาน

               ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย, 2553 : 1-2)
                            กศน. ต าบลหย่วน อ าเภอเชียงค า จังหวัดพะเยา  มีบทบาทหน้าที่ในการจัดการศึกษานอกระบบ

               และการศึกษาตามอัธยาศัย ให้แก่ประชาชนในพื้นที่ ต าบลหย่วน อ าเภอเชียงค า จังหวัดพะเยา  ึึ่งประชาชน

               ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มไทลื้ออาศัยอยู่ มีการสื่อสารโดยใช้ภาษาที่มีความแตกต่างกันทั้งภาษาไทยและภาษาไทลื้อ
               จึงท าให้เกิดปัญหาในการสื่อสารระหว่างจัดการเรียนการสอนให้แก่ผู้เรียน หลักสูตรการศึกษานอกระบบ

               ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยเฉพาะรายวิชาภาษาไทย ึึ่งเป็นรายวิชาบังคับหนึ่งในสาระ

               ความรู้พื้นฐานของหลักสูตร ที่ให้น้ าหนักในการเรียนรู้เรื่อง การฟัง ดู พูด อ่านและเขียนไว้มาก และคาดหวังให้
               ผู้เรียนปฏิบัติตนเป็นผู้มีมารยาทในการฟัง ดู พูด อ่านและเขียน แล้วสามารถสรุปสาระส าคัญของเรื่องที่ฟัง

               ได้ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีนิสัยรักการอ่าน และจดบันทึกอย่างสม่ าเสมอ (ส านักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ

               การศึกษาตามอัธยาศัย, 2555 : 92 - 98)
                          ที่ผ่านมาผู้วิจัยจะใช้ภาษาไทยสื่อสารกับกลุ่มผู้เรียนทุกคน แต่ผู้เรียนที่เป็นไทลื้อจะไม่ใช้ภาษาไทย

               สื่อสารกับผู้วิจัย จากการสังเกตพบว่า สาเหตุที่ผู้เรียนไม่สื่อสารเป็นภาษาไทย เนื่องจากพูดภาษาไทยไม่คล่อง

               และออกเสียงได้ไม่ชัดเจน โดยเฉพาะค าที่มีพยัญชนะ “ช” และ “ด” นอกจากนี้ ค าในภาษาไทยที่มีตัวการันต์
               ผู้เรียนก็เขียนไม่ได้เช่นกัน ปัญหาดังกล่าวส่งผลกระทบในการท ากิจกรรมกลุ่มของผู้เรียน จึงต้องสอนภาษาไทย

               โดยการสื่อสารสองภาษา ทั้งภาษาไทยและไทลื้อควบคู่กันไป เนื่องจากผู้วิจัยสามารถสื่อสารภาษาไทลื้อได้ดี

               ช่วงแรกจึงทดลองใช้ภาษาไทลื้อสื่อความหมายควบคู่กับภาษาไทยระหว่างการสอน และสังเกตพบว่าผู้เรียน




                                                คู่มือการท าวิจัยอย่างง่ายของครู กศน.
                                                             69
   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88