Page 9 - อบต_Neat
P. 9

3.2 กำรสัมภำษณ์อย่ำงไม่เป็นทำงกำร (Informal Interview) เช่น สัมภำษณ์คนเดินถนน  มักเป็นกำร

               ถำมค ำถำมโดยไม่ได้เตรียมมำก่อน ถำมปัญหำเฉพำะหน้ำ ถำมควำมคิดเห็น  ถำมควำมรู้สึก อำรมณ์หรือสัมภำษณ์
               ผู้พบเห็นเหตุกำรณ์น่ำตื่นเต้น เป็นต้น

                       4. รำยกำรอภิปรำย (Discussion Programme) เป็นรำยกำรพูดคุยอีกลักษณะหนึ่ง คือไม่ใช่กำรพูดคุยกับ

               ผู้ฟังโดยตรง แต่เป็นกำรพูดคุยออกควำมคิดเห็นกันในหัวข้อใดหัวข้อหนึ่งหรือเรื่องใดเรื่องหนึ่ง แต่ผู้มำร่วม
               อภิปรำยนั้นต่ำงควำมคิดเห็น ต่ำงทรรศนะกัน  จึงมำร่วมกันแลกเปลี่ยนควำม คิดเห็น  กำรแสดงควำมคิดเห็นจะ

               เป็นไปทีละคน อย่ำงมีระเบียบ  โดยมีผู้ด ำเนินกำรอภิปรำยเป็นผู้ควบคุมให้รำยกำรด ำเนินไปตำมแนวและขอบเขต
               ที่วำงไว้ผู้ด ำเนินกำรอภิปรำยจะท ำหน้ำที่เพียงผู้น ำกำรอภิปรำยและเน้นหรือสรุปควำมคิดเห็นของผู้ร่วมอภิปรำย

               และเน้นหรือสรุปควำมคิดเห็นของผู้ร่วมอภิปรำยในโอกำสอันควรเท่ำนั้น

                       5. รำยกำรสำรคดี (Documentary Feature Programme) เป็นรำยกำรที่เสนอข้อเท็จจริง เพียงเรื่องเดียว

               โดยให้รำยละเอียดอย่ำงลึกซึ้ง รำยกำรสำรคดีเป็นลักษณะรูปแบบรำยกำรที่ให้ สำระควำมรู้ลึกลงไปในเรื่องใดเรื่อง
               หนึ่ง (one subject หรือ one topic) แต่กำรน ำเสนอรำยกำรสำรคดีนั้นอำจท ำได้หลำยลักษณะ เพื่อไม่ให้ผู้ฟัง
               เบื่อและดึงดูดควำม สนใจผู้ฟังให้มำกที่สุดด้วย ดังนั้น รำยกำรสำรคดีจึงต้องมีทั้งควำมหลำก (variety) และต้องมี

               ควำมเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันหรือเอกภำพ (unity) ด้วยเพื่อเกี่ยวหรือโยงควำมหลำกนั้นไว้ให้เป็นรำยกำรเดียวกัน

                       6. รำยกำรนิตยสำรทำงอำกำศ (Magazine Programme)  ค ำว่ำ “Magazine” ที่เป็นสิ่งพิมพ์ ใช้ค ำว่ำ

               “นิตยสำร”  เพรำะเป็นสิ่งพิมพ์ที่มีเรื่องรำวหลำยเรื่องหลำยรส  หลำยรูปแบบ รวมกันอยู่ในเล่มเดียวกัน  เมื่อเป็น
               รำยกำรวิทยุกระจำยเสียง  เรียกว่ำ  “นิตยสำรทำงอำกำศ”  จึงหมำยควำมถึง รำยกำรที่มีหลำยรส หลำยเรื่อง

               หลำยรูปแบบรวมกันอยู่ในรำยกำรเดียวกัน

                      7. รำยกำรข่ำว (News Programme) หมำยถึง รำยกำรที่จัดท ำขึ้นเพื่อรำยงำนเหตุกำรณ์ส ำคัญ ๆ ที่เกิดขึ้น
               แล้วในวันหนึ่ง ๆ เพื่อให้ผู้ฟังได้รู้ว่ำใคร ท ำอะไร ที่ไหน เมื่อไร ท ำไม และอย่ำงไร  รำยกำรข่ำวทำง

               วิทยุกระจำยเสียงควรมีลักษณะสั้น ๆ ชัดเจน เข้ำใจง่ำยมีหัวข้อข่ำวน ำให้รู้ว่ำเป็นเรื่องอะไร  และมีรำยละเอียด
               ครอบคลุมให้ชัดเจนว่ำ ใคร ท ำอะไร ที่ไหน เมื่อไร และอย่ำงไร รำยกำรข่ำวอำจแยกย่อยลงได้หลำยประเภท เช่น

               ข่ำวกำรเมือง ข่ำวอำชญำกรรม ข่ำวต่ำงประเทศ  ข่ำวเศรษฐกิจ ข่ำวสังคม ข่ำวกีฬำ ข่ำวกำรศึกษำ และข่ำว
               บันเทิง เป็นต้น


                       8. รำยกำรบรรยำยเหตุกำรณ์ (Commentary) เป็นกำรรำยงำนเหตุกำรณ์อีกลักษณะหนึ่ง  ซึ่งต่ำงจำกกำร
               รำยงำนข่ำว คือ เป็นกำรรำยงำนเหตุกำรณ์ที่เกิดขึ้นและรำยงำนในขณะที่เหตุกำรณ์นั้นก ำลังเกิดขึ้นหรือ

               เหตุกำรณ์นั้นก ำลังด ำเนินอยู่ แล้วผู้บรรยำยถ่ำยทอด เหตุกำรณ์นั้นเป็นผู้บรรยำย  หรือเล่ำถ่ำยทอดให้ฟัง โดยอำจ
               มีเสียงประกอบจริงจำกสถำนที่เกิดเหตุนั้นด้วยเป็นกำรบรรยำย สิ่งที่เห็นและบำงครั้งมีกำรวิจำรณ์เพื่อให้ผู้ฟัง
               พลอยเห็นภำพตำมไปด้วย


                      9.รำยกำรตอบปัญหำ (Quiz Programme) รำยกำรรูปแบบนี้อำจท ำได้หลำยลักษณะ คือ เชิญผู้ตอบมำร่วม
               รำยกำร โดยตอบปัญหำในห้องส่ง   ในลักษณะแข่งขันกัน หรือเปิดโอกำสให้ผู้ฟังได้มีโอกำสร่วมรำยกำร

               (audience-participation) โดยถำมปัญหำแล้วเปิดโอกำสให้ผู้ฟังตอบปัญหำกลับมำทำงโทรศัพท์  เป็นกำรใช้สื่อ
               วิทยุกระจำยเสียงสื่อสำรกัน 2 ทำง (two way communication) ท ำให้รู้ผลสะท้อนกลับได้ทันทีทันใดรำยกำร
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14