Page 10 - อบต_Neat
P. 10
ตอบปัญหำ นี้มักเป็นรำยกำรประเภทควำมรู้ เพื่อให้ผู้ฟังเกิดควำมรู้ ซึ่งเป็นกำรใช้สื่อวิทยุกระจำยเสียงที่ให้
ประโยชน์อย่ำงยิ่ง
10. รำยกำรเพลง (Music Programme) รำยกำรเพลงเป็นรำยกำรที่มีควำมส ำคัญ และได้รับควำมสนใจ
จำกผู้ฟังอย่ำงมำก ซึ่งควำมสนใจและควำมนิยมได้มีมำนำนแล้ว เพรำะรำยกำรเพลงเป็นรำยกำรที่มุ่งให้ควำม
บันเทิงอย่ำงแท้จริง ในสมัยก่อนนี้สถำนีวิทยุกระจำยเสียงหลำยสถำนี ออกอำกำศรำยกำรเพลงเป็นส่วนใหญ่ โดยมี
ข่ำวประกอบบ้ำงเล็กน้อย แม้ปัจจุบันนี้มีสถำนี ส่วนใหญ่ก็ออกอำกำศรำยกำรเพลงในอัตรำส่วนที่มำกกว่ำรำยกำร
ประเภทอื่นอยู่เป็นจ ำนวนมำก
11. รำยกำรละครวิทยุ (Radio Drama หรือ Radio Play) เป็นกำรเสนอรำยกำรในรูปแบบ ของกำรแสดง
บทบำทที่สมมติขึ้น โดยสอดแทรกเนื้อหำวิชำควำมรู้และควำมบันเทิงด้วยศิลปะ ต่ำง ๆ ของกำรใช้เสียง เพื่อให้
ผู้ฟังเกิดควำมเข้ำใจ เกิดอำรมณ์ ควำมรู้สึกคล้อยตำม โดยอำศัยบทเจรจำ (dialogue) และกำรบรรยำย
(narrator) รวมทั้งเพลงและเสียงประกอบ (sound effects) เป็นองค์ประกอบส ำคัญเพื่อให้รำยกำรทั้งหมดฟัง
แล้วสมจริงสมจัง
12. รำยกำรปกิณกะ (Variety) เป็นรำยกำรที่ประสมรำยกำรหลำยรูปแบบรวมอยู่ในรำยกำรเดียวกันที่
เรียกว่ำ “Combination” เป็นเพียงกำรเสนอเนื้อหำ และรูปแบบหลำย ๆ รูปแบบมำผสมปนเปกัน มีแต่ควำม
หลำกหลำยแต่ไม่ มีควำมเป็นอันหนึ่ง อันเดียวหรือเอกภำพ รำยกำรพวกนี้ส่วนใหญ่จะเน้นควำมบันเทิง อำจจะมี
เนื้อหำทำง ควำมรู้หรือให้ข่ำวสำรบ้ำงผสมปนเปกัน เป็นจ ำพวกสัพเพเหระ จึงมักเรียกเป็นรำยกำรปกิณกะ เช่น
รำยกำรประเภทเกมโชว์ รำยกำรตลก แข่งขันทำยปัญหำ และรีวิว เป็นต้น
13. รำยกำรสำระละคร (Docu-Drama) เป็นรูปแบบรำยกำรที่นิยมท ำกันเพื่อมุ่งให้ควำมรู้ และควำมบันเทิง
พร้อม ๆ กันเป็นรำยกำรที่ใช้รูปแบบของละครวิทยุผสมกับรูปแบบสำระคดี โดยช่วงแรกจะเสนอรำยกำรด้วย
รูปแบบของละคร ในเนื้อหำของละครอำจจะยกประเด็นปัญหำ มำโต้ตอบกันด้วยเทคนิคของละครวิทยุ โดย
กำรผูกเรื่องให้ผู้ฟังตระหนัก ว่ำสิ่งนั้นคือปัญหำ สำเหตุของปัญหำเป็นอย่ำงไร รำยกำรสำระละครที่ดีควรจะแสดง
ประเด็นปัญหำให้เด่นชัด และเปิดทำงให้ผู้ฟังรู้สึกว่ำมีวิธีแก้ปัญหำนั้นได้หลำยวิธี ต่อจำกนั้นก็จะเป็นช่วงของกำร
แก้ปัญหำ โดยกำรเชิญผู้ทรงคุณวุฒิหลำย ๆ คน มำแสดงควำมคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหำนั้น ซึ่งอำจท ำได้หลำย
รูปแบบ เช่น กำรเสนอสำระเชิงวิชำกำร กำรบรรยำย กำรสรุป กำรวิจำรณ์ หรือกำรอภิปรำยประกอบ
3.กำรเขียนบทวิทยุกระจำยเสียง
ภิญโญ ช่ำงสำน (2539, หน้ำ 385) กล่ำวถึง ข้อควรค ำนึงในกำรใช้ภำษำ ในกำรเขียนบทวิทยุกระจำยเสียง
ไว้ดังนี้
กำรใช้ภำษำในกำรเขียนบทวิทยุกระจำยเสียงเป็นกำรใช้ภำษำเพื่อกำรฟัง มิใช่กำรใช้ภำษำ เพื่อกำรอ่ำน
โดยทั่วไปจะเป็นกำรสื่อสำรทำงเดียว ผู้ส่งสำรกับผู้รับสำรไม่มีโอกำสได้เห็นหน้ำตำกัน กำรใช้ภำษำในกำรเขียน
บท วิทยุกระจำยเสียงจึงควรค ำนึงถึงสิ่งต่อไปนี้
1. ใช้ภำษำส ำนวนสนทนำที่ง่ำย กระชับ ชัดเจน ทั้งถ้อยค ำและประโยค ผู้ฟังฟังแล้วเข้ำใจได้ทันที