Page 11 - อบต_Neat
P. 11
2. ใช้ภำษำให้สอดคล้องกับรูปแบบรำยกำร และเหมำะสมกับผู้ฟังกลุ่มเป้ำหมำย
3. ใช้ถ้อยค ำ ส ำนวนโวหำร ที่สำมำรถสร้ำงจินตนำกำร หรือมโนภำพให้แก่ผู้ฟังได้ เช่น กำรใช้ค ำที่แสดงภำพ
กำรใช้ค ำที่ให้ควำมรู้ทำงเสียง กำรใช้ค ำเปรียบเทียบ เป็นต้น
4. ใช้ถ้อยค ำที่แสดงควำมใกล้ชิด และเป็นกันเองกับผู้ฟัง เช่นกำรใช้สรรพนำมแทนผู้ฟังเหมือนคนใกล้ชิด
คุ้นเคยว่ำ น้อง ๆ คุณหนู ๆ คุณพ่อบ้ำน หรือกำรใช้ค ำหำงเสียงว่ำ ครับ นะครับ คะ ค่ะ จ๊ะ จ๋ำ เป็นต้น
5. ใช้ภำษำที่สุภำพ ไม่ใช้ถ้อยค ำที่ส่อไปในทำงหยำบคำย หรือลำมกอนำจำร
6. ใช้ภำษำที่สร้ำงสรรค์ ไม่ใช้ถ้อยค ำยั่วยุ ใช้ภำษำที่สร้ำงสรรค์ ไม่ใช้ถ้อยค ำยั่วยุ บิดเบือน หรือเสียดสีผู้อื่น
จนก่อให้เกิดควำมสับสน หรือเกิดควำมแตกแยกขึ้นในสังคม
7. ใช้ถ้อยค ำที่ออกเสียงได้ง่ำย หลีกเลี่ยงกำรใช้ถ้อยค ำที่ออกเสียงยำก หรือพูดลิ้นพันกัน ถ้ำจ ำเป็นต้องใช้ค ำ
ที่อ่ำนยำก ควรเขียนค ำอ่ำนไว้ในวงเล็บด้วย
หลักกำรเขียนข่ำวทำงวิทยุกระจำยเสียงที่ส ำคัญ
นภำภรณ์ อัจฉริยกุล (2550, หน้ำ 199, 203-204 และ 207) กล่ำวถึง หลักกำรเขียนข่ำว ทำง
วิทยุกระจำยเสียง แนวทำงกำรเขียนบทรำยกำรวิทยุกระจำยเสียงประเภทควำมรู้ และหลักส ำคัญในกำรเขียน
บทรำยกำรบันเทิง ไว้สรุปได้ ดังนี้
1. ข่ำววิทยุเขียนเพื่อให้ผู้อ่ำนข่ำวอ่ำนให้ผู้ฟังฟัง ส่วนข่ำวหนังสือพิมพ์นั้น ประชำชน
เป็นผู้อ่ำนเองจึงมักพูดกันว่ำ ข่ำววิทยุเขียนเพื่อฟัง ส่วนข่ำวหนังสือพิมพ์เขียนเพื่ออ่ำน
2. ข่ำววิทยุต้องเขียนให้สั้น กระชับ ฟังเข้ำใจง่ำย จับใจควำมได้ทันที
3. หลีกเลี่ยงค ำซ้ ำ ค ำที่มีเสียงคล้ำยกัน เพรำะจะท ำให้จับใจควำมไม่ชัดเจน
4. ถ้ำยกค ำกล่ำวของผู้อื่นมำพูด ต้องเรียบเรียงใหม่โดยเปลี่ยนสรรพนำมให้ถูกต้อง
5. ไม่ใช้ตัวย่อหรือประหยัดค ำจนท ำให้สับสน ไม่เข้ำใจ
6. ค ำยำก ๆ ควรใส่วงเล็บค ำอ่ำนก ำกับไว้ให้ด้วย
7. กำรเขียนตัวเลข ถ้ำต่ ำกว่ำ 10 ให้เขียนเป็นตัวอักษร ยกเว้นวันที่ เลขบ้ำน ล ำดับที่ เวลำ อำยุ ถ้ำเลข
จ ำนวนมำก ๆ ต้องมีตัวอักษรก ำกับไว้ในวงเล็บด้วย หรือใช้จ ำนวนเลขประมำณให้เข้ำใจได้ง่ำย ๆ
แนวทำงกำรเขียนบทรำยกำรวิทยุกระจำยเสียงประเภทควำมรู้ที่ส ำคัญ
1. เขียนเพื่อให้ฟังเข้ำใจได้ง่ำย ได้ยินครั้งแรกสำมำรถเข้ำใจได้ทันที
2. เสียงทุกเสียงต้องสื่อควำมหมำยได้ชัดเจน