Page 411 - วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
P. 411
ฉบับพิเศษ ประจำ�ปี 2564
บทบาทของศาลล้มละลายกลางกับการแก้ไขปัญหา
ธุรกิจสายการบินของไทย ในสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19)
ณรงค์ กลั่นวารินทร์*
ลลิดา จุลฤกษ์**
ในการประกอบกิจการของวิสาหกิจตามปกติท่วไปย่อมอาจเกิดสถานการณ์ท่กิจการ
ั
ี
ี
้
ิ
ั
่
็
่
้
ั
ิ
้
่
ิ
ประสบปญหาทางการเงนได แมวาการบรหารกจการจะปองกนความเสียงเพยงใดกตาม แตความ
ี
ไม่แน่นอนและเหตุการณ์ท่ไม่อาจคาดหมายสามารถเกิดข้นได้ตลอดเวลาไม่ว่าจากปัจจัยภายนอก
ึ
ั
ี
หรือปัจจัยภายในวิสาหกิจน้น ในปี 2540 ประเทศไทยประสบปัญหาวิกฤตเศรษฐกิจท่รู้จักกัน
ื
ิ
ในช่อ วิกฤตต้มยํากุ้ง ทําให้ระบบเศรษฐกิจและองค์กรธุรกิจต่าง ๆ ต้องประสบปัญหาทางการเงน
อย่างหนัก การแก้ไขพระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ. 2483 และการจัดตั้งศาลล้มละลายกลาง
ในปี 2542 เป็นกระบวนการสําคัญประการหน่งในการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจของประเทศ
ึ
โดยเฉพาะการแก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติในส่วนที่เกี่ยวกับการฟื้นฟูกิจการ
ิ
้
ู
ี
้
ี
ี
ั
่
ี
้
ั
ี
้
ตามหลกการทางกฎหมายการทลกหนเป็นหนเจ้าหนโดยเฉพาะหนเงนและผิดนด
ื
ชําระหน้ โดยท่วไปเจ้าหน้จะบังคับชําระหน้ด้วยการฟ้องคดีแพ่งเพ่อให้ลูกหน้ชําระหน ี ้
ั
ี
ี
ี
ี
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง เม่อมีการฟ้องคดีแพ่งและศาลตัดสินให้เป็นเจ้าหน ี ้
ื
ตามคําพิพากษา เจ้าหน้ดังกล่าวย่อมมีสิทธิบังคับคดีนําเจ้าพนักงานบังคับคดียึดทรัพย์สินต่าง ๆ
ี
ื
ี
ี
ของลูกหน้เพ่อขายทอดตลาด หรือแจ้งการอายัดสิทธิเรียกร้องท่ลูกหน้มีต่อบุคคลภายนอก แล้ว
ี
นําเงินที่ได้มาชําระหนี้ให้แก่เจ้าหนี้ตามคําพิพากษานั้น ทรัพย์สินใดที่มีการยึดหรืออายัดไว้แล้ว
ี
้
ื
เจ้าหน้ตามคําพิพากษารายอ่นไม่สามารถยึดหรืออายัดทรัพย์สินน้นซําได้ แต่อาจย่นขอ
ั
ื
ี
เฉลยทรัพย์น้น ๆ ต่อศาล เว้นแต่เจ้าหน้รายอนเป็นเจ้าหน้บริมสิทธิ เช่น เจ้าหน้จํานองก็จะมีสิทธ ิ
ี
่
ี
ื
ุ
ั
่
ี
ได้รับชําระหนี้เหนือทรัพย์สินของลูกหนี้ที่นํามาเป็นหลักประกันเหนือกว่าเจ้าหนี้รายอื่น
* อธิบดีผู้พิพากษาศาลล้มละลายกลาง
** ผู้พิพากษาศาลล้มละลายกลาง
409