Page 414 - วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
P. 414
วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชำานัญพิเศษ
ี
ี
ในด้านของเจ้าหน้ เม่อศาลมีคําส่งพิทักษ์ทรัพย์ของลูกหน้เด็ดขาด เจ้าหน้ในหน้เงิน
ี
ั
ื
ี
ึ
ี
ี
ั
ื
ี
ึ
ซ่งมูลหน้เกิดข้นก่อนวันท่ศาลมีคําส่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาดต้องย่นคําขอรับชําระหน้ภายในระยะ
ี
เวลาสองเดือนนับแต่วันโฆษณาคําส่ง ในระหว่างน้กฎหมายเปิดโอกาสให้ลูกหน้สามารถขอเจรจา
ั
ี
ี
ี
ื
กับเจ้าหน้เพ่อเสนอเง่อนไขการประนอมหน้ก่อนล้มละลายได้ หากท่ประชุมเจ้าหน้มีมติพิเศษ
ื
ี
ี
ี
ยอมรับการขอประนอมหน้และศาลให้ความเห็นชอบด้วยแล้ว ก็ถือว่าการประนอมหน้ก่อน
ี
ล้มละลายเป็นผลสําเร็จ ทําให้ลูกหน้หลุดพ้นจากการล้มละลาย รวมถึงหลุดพ้นจากหน้ต่าง ๆ อัน
ี
ี
อาจขอรับชําระหนี้ได้ในคดีล้มละลาย แต่ต้องผูกพันชําระหนี้ตามคําขอประนอมหนี้ และเจ้าหนี้
ท่ย่นคําขอรับชําระหน้ไว้ก็จะได้รับชําระหน้ตามท่กําหนดไว้ในเง่อนไขการประนอมหน้นั้น แต่ถ้า
ี
ี
ี
ื
ี
ื
ี
ี
ื
ี
ี
ี
ลูกหน้ขอประนอมหน้ก่อนล้มละลายไม่สําเร็จ หรือลูกหน้ไม่ย่นคําขอประนอมหน้ หรือไม่ม ี
ี
ี
ี
เจ้าหน้มาประชุม ศาลก็จะพิพากษาให้ลูกหน้ล้มละลาย หลังจากศาลพิพากษาให้ลูกหน้ล้มละลาย
เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์จะดําเนินการจําหน่ายทรัพย์สินของลูกหน้ด้วยวิธีการขายทอดตลาด
ี
เป็นหลัก เมื่อลูกหนี้เข้าสู่กระบวนการล้มละลายแล้ว ลูกหนี้อาจหลุดพ้นจากล้มละลายได้หลาย
ื
เง่อนไข ไม่ว่าจะเป็นการปลดจากล้มละลาย การประนอมหน้ภายหลังล้มละลาย หรือการยกเลิก
ี
การล้มละลาย ทั้งนี้ ภายใต้หลักเกณฑ์ที่กฎหมายกําหนด
2) กรณีผู้ชําระบัญชีร้องขอให้นิติบุคคลล้มละลาย (มาตรา 88 พระราชบัญญัติล้มละลาย
ึ
ี
ี
พ.ศ. 2483) ในกรณีท่ลูกหน้เป็นห้างหุ้นส่วนสามัญซ่งได้จดทะเบียน ห้างหุ้นส่วนจํากัด บริษัทจํากัด
ี
ื
หรือนิติบุคคลอ่น นอกจากเจ้าหน้จะฟ้องขอให้ล้มละลายได้ตามหลักเกณฑ์ดังกล่าวข้างต้น
แล้ว กฎหมายยังให้อํานาจผู้ชําระบัญชีของห้างหรือบริษัทหรือนิติบุคคลอ่น ๆ ข้างต้นซ่งม ี
ึ
ื
่
ื
้
ิ
ั
ุ
ิ
่
ื
ํ
ี
การชาระบญชแล้ว ยนคาร้องขอต่อศาลให้สงให้นตบคคลนนล้มละลายได้ หากปรากฏว่าเมอ
ํ
ั
ั
่
เงินลงทุนหรือเงินค่าหุ้นได้ใช้เสร็จหมดแล้ว สินทรัพย์ยังไม่พอกับหนี้สิน หมายถึงไม่สามารถนํา
ทรัพย์สินของนิติบุคคลไปชําระหน้ท่มีอยู่ได้ครบถ้วน ไม่ว่าทรัพย์สินจะไม่พอกับหน้สินมากน้อย
ี
ี
ี
ั
ั
เท่าใดก็ตาม เม่อศาลได้รับคําร้องขอศาลจะมีคําส่งพิทักษ์ทรัพย์ของนิติบุคคลน้นเด็ดขาดโดยทันท ี
ื
หรือจะไต่สวนพยานก่อนมีคําสั่งก็ได้ หลังจากนั้นจะให้ที่ประชุมเจ้าหนี้แต่งตั้งเจ้าหนี้คนหนึ่งขึ้น
ให้มีสิทธิและหน้าท่เสมือนเจ้าหน้ผู้เป็นโจทก์ ส่วนข้นตอนในการรวบรวมจัดการทรัพย์สินก็จะ
ั
ี
ี
ดําเนินการโดยเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์เช่นเดียวกัน
2. คดีฟื้นฟูกิจการ เนื่องด้วยสภาพสังคมและเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว
ึ
ี
ในปัจจุบัน ทําให้นิติบุคคลซ่งประกอบธุรกิจอยู่ในภาวะท่ต้องแข่งขันกันในทางการค้า จําเป็น
ต้องมีการลงทุนเพื่อต่อยอดพัฒนาธุรกิจและบริการให้สามารถแข่งขันในตลาดได้ ส่วนหนึ่งต้อง
อาศัยการกู้ยืมเงินจากสถาบันการเงินหรือองค์กรอื่น ๆ รวมถึงการระดมทุนในตลาดหลักทรัพย์
412