Page 415 - วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
P. 415
ฉบับพิเศษ ประจำ�ปี 2564
ี
ี
ี
องค์กรธุรกิจจึงต้องยอมเป็นหน้และรับความเส่ยงต่อปัญหาการขาดสภาพคล่องทางการเงินท่อาจ
ึ
เกิดข้นได้ตลอดเวลา หากองค์กรธุรกิจน้นเกิดประสบปัญหาทางการเงินดังกล่าวจากเหตุปัจจัย
ั
ต่าง ๆ ทําให้มีหนี้สินล้นพ้นตัว ย่อมส่งผลกระทบต่อบุคคลหลายฝ่ายที่เกี่ยวข้อง เช่น ลูกจ้าง
ื
ี
ี
ี
ท่บางส่วนอาจต้องถูกเลิกจ้างเพ่อลดภาระค่าใช้จ่ายขององค์กร เจ้าหน้ต่าง ๆ ท่อาจไม่ได้รับชําระ
ี
ี
ั
ี
หน้คืนจากลูกหน้ซ่งผิดนัดชําระหน้ รวมท้งกิจการท่เป็นคู่ค้ากับลูกหน้ นอกจากน้นหาก
ึ
ี
ั
ี
นิติบุคคลซ่งเป็นองค์กรธุรกิจดังกล่าวเป็นองค์กรหลักในการดําเนินธุรกิจของประเทศด้วยแล้ว
ึ
การประสบปัญหาทางด้านการเงินย่อมส่งผลกระทบรุนแรงมากข้นต่อสังคมในวงกว้าง และ
ึ
ั
ี
ั
ย่งไปกว่าน้น ถ้าองค์กรธุรกิจลักษณะดังกล่าวถูกเจ้าหน้ท้งหลายเลือกฟ้องเป็นคดีล้มละลาย
ิ
เนื่องจากมีหนี้สินล้นพ้นตัว ซึ่งแม้พระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ. 2483 จะมีหลักการที่กําหนด
ขึ้นเพื่อประโยชน์แก่ทั้งฝ่ายลูกหนี้และเจ้าหนี้ อีกทั้งยังมีกลไกที่ช่วยบริหารจัดการคดีล้มละลาย
ี
ได้แก่ ศาลล้มละลายและเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ท่เป็นผู้รวบรวมจัดการทรัพย์สินของลูกหน ้ ี
ึ
ี
ู
็
ื
เพ่อการชําระหน้กตาม แต่ในอีกทางหน่งการถกฟ้องเป็นคดีล้มละลายย่อมเป็นสัญญาณบ่งบอก
ว่า นิติบุคคลหรือองค์กรธุรกิจดังกล่าวอาจมีแนวโน้มต้องยุติการดําเนินกิจการในไม่ช้า ซึ่งทําให้
เกิดปัญหาต่าง ๆ ตามมาและอาจส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศได้
แนวความคิดทางกฎหมายในเรื่องการฟื้นฟูกิจการจึงเกิดขึ้น
ประเทศไทยนําแนวคิดทางกฎหมายดังกล่าวมาบัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติล้มละลาย
พ.ศ. 2483 ด้วยมีวัตถุประสงค์ให้ลูกหนี้ซึ่งมีสถานะเป็นบริษัทจํากัด บริษัทมหาชนจํากัด หรือ
นิติบุคคลอ่น ๆ ตามท่กฎกระทรวงกําหนด รวมท้งวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ได้มีโอกาส
ื
ั
ี
ี
ิ
เร่มต้นกิจการใหม่และทําให้ธุรกิจของลูกหน้ยังสามารถดําเนินกิจการต่อไปได้ โดยนํากระแส
ี
เงินสดจากการประกอบกิจการต่อไปในอนาคตมาชําระหน้ ซ่งเกิดประโยชน์กับลูกหน้และบรรดา
ึ
ี
เจ้าหน้ให้ได้รับชําระหน้อย่างเป็นธรรมในจํานวนท่ไม่น้อยกว่ากรณีท่ศาลพิพากษาให้ลูกหน ี ้
ี
ี
ี
ี
ล้มละลาย การฟื้นฟูกิจการจึงเข้ามามีบทบาทสําคัญเป็นทางเลือกที่น่าสนใจอีกช่องทางหนึ่งให้
ึ
่
ู
ื
ี
ื้
ลูกหน้ซงกําลังประสบปัญหาทางการเงินได้รับความช่วยเหลือเพ่อให้ลกหน้มีโอกาสได้ฟนฟกิจการ
ู
ี
และยังคงสามารถดําเนินธุรกิจต่อไปได้
หลักเกณฑ์การยื่นค�าร้องขอฟื้นฟูกิจการประกอบด้วย
ี
ื
ี
1. ผู้มีสิทธิย่นคําร้องขอฟื้นฟูกิจการ ได้แก่ 1) เจ้าหน้ซ่งอาจเป็นเจ้าหน้คนเดียวหรือหลายคน
ึ
ี
ี
ึ
รวมกันเป็นจํานวนหน้ไม่น้อยกว่าสิบล้านบาท 2) ลูกหน้ซ่งเป็นนิติบุคคลประเภทบริษัทจํากัด
บริษัทมหาชน จํากัด หรือนิติบุคคลอื่นตามที่กฎกระทรวงกําหนด (เช่น สหกรณ์เครดิตยูเนียน
413