Page 412 - วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
P. 412
วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชำานัญพิเศษ
ั
ี
ิ
อย่างไรก็ตามหากปรากฏข้อเท็จจริงเพ่มเติมว่า ลูกหน้ท่ผิดนัดชําระหน้น้นประสบปัญหา
ี
ี
ี
ทางการเงินตกอยู่ในสภาวะมีหน้สินจํานวนมาก โดยหน้สินมีจํานวนมากกว่าทรัพย์สินท่ลูกหน ้ ี
ี
ี
ั
ู
่
ั
้
้
ี
ี
ี
้
่
ี
้
่
้
้
็
ี
็
้
้
้
ี
ู
ิ
มอย ทงยงเปนหนเจาหนหลายราย การทเจาหนแตละรายดําเนนการฟองรองลกหนเปนคดแพง
่
ี
และเข้าบังคับคดียึดทรัพย์สินของลูกหน้เป็นรายคดี อาจก่อให้เกิดปัญหาความยุ่งยากในข้นตอน
ั
ี
ี
ของการบังคับคดี เพราะเจ้าหน้ผู้เป็นโจทก์แต่ละรายย่อมพยายามหาช่องทางหรือวิธีการ
ื
ึ
ิ
้
่
เพอให้ได้รับชําระหนจากทรพย์สินของลูกหน้มากท่สุด ซงกว่ากระบวนการดงกล่าวจะเสร็จส้น
ี
ั
่
ั
ี
ี
ี
ื
ย่อมใช้เวลานานและเสียค่าใช้จ่ายจํานวนมาก ประกอบกับลูกหน้ไม่มีโอกาสท่จะปลดเปล้อง
ี
หนี้สินของตนได้โดยง่าย ทําให้ไม่เป็นประโยชน์ต่อระบบเศรษฐกิจในภาพรวม
ั
ดังน้น เพ่อแก้ไขปัญหาดังกล่าวจึงมีการนําแนวความคิดของระบบกฎหมายต่างประเทศ
ื
ื
เข้ามาในระบบกฎหมายไทย เพ่อใช้เป็นมาตรการแก้ปัญหาการจัดการทรัพย์สินของลูกหน ้ ี
ที่มีหนี้สินมากกว่าทรัพย์สินหรือที่เรียกว่า มีหนี้สินล้นพ้นตัว รวมทั้งการปรับโครงสร้างหนี้หรือ
โครงสร้างทุนของวิสาหกิจท่ประสบปัญหาทางการเงินภายใต้แผนฟื้นฟูกิจการ แนวความคิด
ี
ดังกล่าวคือ การฟ้องหรือร้องขอเป็นคดีล้มละลายและการยื่นคําร้องขอเป็นคดีฟื้นฟูกิจการตาม
ี
พระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ. 2483 โดยให้ศาลล้มละลายเป็นองค์กรท่คอยทําหน้าท่กํากับ
ี
ตรวจสอบการดําเนินกระบวนพิจารณาในส่วนต่าง ๆ ให้เป็นไปตามกฎเกณฑ์ท่กฎหมาย
ี
ล้มละลายกําหนด และใช้อํานาจตุลาการในการรักษาสมดุลระหว่างการคุ้มครองช่วยเหลือลูกหน ้ ี
ี
ั
ี
และการรักษาประโยชน์ของบรรดาเจ้าหน้ท้งหลายให้ได้รับชําระหน้อย่างเป็นธรรมและลดความ
ยุ่งยากในขั้นตอนการบังคับคดี
กระบวนการจัดการทรัพย์สินและหน้สินตามกฎหมายล้มละลายอาจจําแนกได้เป็น
ี
คดีล้มละลายและคดีฟื้นฟูกิจการ
ื
ั
ิ
1. คดล้มละลาย คดล้มละลายมหลกการสําคญในการพจารณาคดคอ การรวบรวม
ี
ั
ี
ี
ี
ี
ี
ี
เอาทรัพย์สินของลูกหน้ท่มีหน้สินล้นพ้นตัวโดยเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์แล้วนํามาจัดการ
ู
่
ั
่
จาหนาย เพอนาเงนทไดมาจดสรรแบงชําระหนใหแกเจาหนทงหลายของลกหนอยางเทาเทยมกน
ี
ั
้
ี
ื
้
้
่
่
ํ
่
้
่
ี
ั
้
ํ
ี
่
ิ
้
ี
้
ภายใต้หลักบุริมสิทธิ ลักษณะทํานองเดียวกับการชําระบัญชีของนิติบุคคลตามประมวลกฎหมาย
ั
แพ่งและพาณิชย์ ทําให้ท้งลูกหน้และเจ้าหน้ต่างได้รับประโยชน์จากกระบวนการดังกล่าว โดย
ี
ี
ื
ฝ่ายลูกหน้จะได้รับการจัดการทรัพย์สินและมีโอกาสชําระหน้ท่มีอยู่ให้เสร็จส้นไป เม่อลูกหน้ผ่าน
ี
ิ
ี
ี
ี
ี
กระบวนการจัดการทรัพย์สิน ลูกหนี้จะได้รับการปลดเปล้องจากหน้สิน ทําให้สามารถกลับมา
ี
ี
ี
ประกอบอาชีพสะสมทรัพย์สินใหม่ได้อีกคร้ง ส่วนฝ่ายเจ้าหน้ก็จะได้รับการจัดสรรชําระหน้ภายใต้
ั
หลักการของกฎหมายล้มละลายโดยไม่ต้องเสียเวลาและค่าใช้จ่ายจํานวนมากในการบังคับคด ี
ดังเช่นคดีแพ่งท่วไป และในกฎหมายล้มละลายจะมีหลักเกณฑ์ทางกฎหมายให้อํานาจ
ั
410