Page 244 - Liver Diseases in Children
P. 244

234      โรคตับในเด็ก




              pthaigastro.org
                                                                       ี
            “slow acetylators” ก็มีโอกาสเกิดพิษต่อตับได้       ในกรณีทได้รับยารักษาวัณโรคหลายขนาน
                                                                       ่
                                                                            �
                                                                        ิ
              ื
            เน่องจากมีการสัมผัสกับ MAH เป็นเวลานานก่อนจะ  rifampicin มีฤทธ์ชักนา (induce) cytochromes และ
                                                                                                   23
            ถูกขจัดพิษ หรือมีการสังเคราะห์เมแทบอไลต์อื่นที ่  uridine diphosphate glucuronosyl transferases
                                                                                      ิ
                                                                                                 ิ
            เป็นพิษต่อตับ                                 ดังนั้นการให้ rifampicin อาจเพ่มความเป็นพษต่อ
                           �
                 ยา INH ทาให้เกิดตับอักเสบโดยวินิจฉัยจาก  ตับของ INH หากใช้ร่วมกัน อาการของตับบาดเจ็บ
                                                                                            ื
            การตรวจเลือดประมาณร้อยละ 6.8-13.6 แต่ท�าให้   จากยา rifampicin คล้ายกับการติดเช้อไวรัสตับ
            มีอาการทางตับ เช่น ตัวเหลือง เบื่ออาหาร คลื่นไส้   อักเสบ ผู้ป่วยที่มีค่า aminotransferases สูงโดยไม่มี
            อาเจียนเพียงร้อยละ 1-2  ประมาณร้อยละ 50 จะเกิด  อาการส่วนใหญ่ตับจะกลับมาเป็นปกติหลังหยุดยา
                                1
            อาการภายใน 2 เดือนแรกหลังได้รับยา แต่ก็อาจ    Pyrazinamide
                                              12
            เกิดภายหลังนานถึง 14 เดือนหลังได้รับยา ลักษณะ      ยา pyrazinamide ถูก metabolize ในตับ
            ทางจุลพยาธิวิทยาอาจพบตับอักเสบเฉยบพลัน        กลายเป็น 5-hydroxy pyrazinoic acid การเกิดพิษ
                                               ี
            granulomatous hepatitis หรือเซลล์ตับตาย 23    ต่อตับเป็นได้ท้ง dose dependent และ idiosyncratic
                                                                     ั
                 ส่วนใหญ่ผู้ป่วยจะหายจากตับอักเสบในเวลา   ซ่งสัมพันธ์กับการสังเคราะห์อนุมูลอิสระ พบการ
                                                           ึ
            1-4 สัปดาห์หลังหยุดยา แต่ในรายที่เกิดตับอักเสบช้า   แพ้ยา (hypersensitivity features) ในผู้ที่ได้รับยา

            (ภายหลังได้รับยานานกว่า 2 เดือน) มีการพยากรณ์  pyrazinamide ได้  เด็กที่ได้รับยา pyrazinamide
                                                                          23
            โรคไม่ดีโดยมีอัตราตายประมาณร้อยละ 10 มีการ    ร่วมกับ INH และ rifampicin มีความเส่ยงต่อการเกิดพิษ
                                                                                        ี
            ศึกษาในเด็กที่เกิดตับวายเฉียบพลันจากยา  INH   ต่อตับเพิ่มขึ้น ดังนั้นควรตรวจติดตามค่าการท�างาน
            จ�านวน 20 คนพบว่า ร้อยละ 20 หายได้เองหลังหยุด  ของตับบ่อย ๆ ในเด็กที่ได้รับยารักษาวัณโรคหลาย

            ยา ร้อยละ 50 ต้องรักษาด้วยการปลูกถ่ายตับ และ  ขนาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเด็กอายุน้อยกว่า 5 ปี
            ร้อยละ 30 เสียชีวิตระหว่างรอการปลูกถ่ายตับ 24
                                                          แนวทำงปฏิบัติในกรณีตรวจพบค่ำกำร
            Rifampicin                                    ท�ำงำนของตับผิดปกติระหว่ำงรักษำ

                 เป็นยาที่มีผลข้างเคียงน้อยหากใช้เพียงชนิด วัณโรค

            เดียว พบท�าให้เกิดตับอักเสบที่มีอาการเพียงร้อยละ      ค�าแนะน�าของ American Thoracic Society
            0.6-2.7  rifampicin ถูกก�าจัดออกทางนาดี ผ่านเข้าสู่  คือ ควรหยุดยารักษาวัณโรคหากตรวจพบค่า ALT
                  1
                                            ้
                                            �
            ระบบไหลเวียนลาไส้-ตับ (enterohepatic circulation)   สูงมากกว่า 5 เท่าของขีดจ�ากัดบนของค่าปกติ หรือ
                         �
            และกระบวนการ deacetylation ในตับ rifampicin  ค่า ALT สูงมากกว่า 3 เท่าร่วมกับมีอาการ เช่น
            ท�าให้การน�าเข้าบิลิรูบินสู่เซลล์ตับผิดปกติ จึงเกิด  ตัวเหลืองหรือตับอักเสบ   ส่วนค�าแนะนาตาม
                                                                                23
                                                                                                �
            conjugated hyperbilirubinemia ในรายที่มีการ  แนวทางการควบคุมวัณโรคประเทศไทย พ.ศ. 2561
                                                           ึ
            บาดเจ็บต่อเซลล์ตับ (hepatocellular injury) มักเกิด  ซ่งจัดท�าโดยสานักวัณโรค กรมควบคุมโรค กระทรวง
                                                                      �
                                                                                    25
            จากการแพ้ยา ซึ่งพบในเดือนแรกของการได้รับยา 23  สาธารณสุข แสดงในรูปที่ 12.3
   239   240   241   242   243   244   245   246   247   248   249