Page 81 - เนื้อหา
P. 81

1.2 ก่อนครบก ำหนด เมื่อออกหุ้นกู้ไปแล้วในระยะเวลาหนึ่ง ถ้ามีเหตุการณ์ที่บริษัท
                       มหาชนจ ากัด ได้วิเคราะห์เกี่ยวกับเงินลงทุนและพบว่าจะได้รับประโยชน์มากกว่า ที่จะให้หุ้นกู้นั้นอยู่
                       ในมือของผู้ถือหุ้นกู้ บริษัทมหาชนจ ากัด จึงด าเนินการไถ่ถอนหุ้นกู้ก่อนก าหนด ดังนั้นการบันทึกบัญชี
                       จะมีขั้นตอนดังนี้

                                         1.2.1 บันทึกกำรจ่ำยดอกเบี้ยคงค้ำง ถือระยะเวลาตั้งแต่วันที่จ่ายดอกเบี้ยงวด
                       สุดท้ายจนถึงวันที่ไถ่ถอนหุ้นกู้ การบันทึกบัญชีเหมือนกับการจ่ายดอกเบี้ยประจ างวด
                                         1.2.2 ตัดส่วนเกินมูลค่ำหุ้นกู้หรือส่วนต่ ำมูลค่ำหุ้นกู้ โดยคิดค านวณจากระยะเวลาที่
                       ตัดส่วนเกินมูลค่าหุ้นกู้หรือส่วนต่ ามูลค่าหุ้นกูีีงวดสุดท้ายถึงวันที่ไถ่ถอนหุ้นกู้ ในการบันทึกบัญชี

                       เหมือนกับการบันทึกรายการตัดส่วนเกินมูลค่าหุ้นกู้หรือส่วนต่ ามูลค่าหุ้นผู้ประจ างวดปกติของแต่ละ
                       งวด
                                          1.2.3 บันทึกกำรไถ่ถอนหุ้นกู้ ในการบันทึกบัญชีจะต้องมีรายการ ดังนี้
                                                  1.2.3.1 เดบิตหุ้นกู้ตามจ านวนที่ไถ่ถอนคุณด้วยราคามูลค่าหุ้นกู้

                                                  1.2.3.2 โอนปิดส่วนเกินมูลค่าหุ้นกู้หรือส่วนต่ ามูลค่าหุ้นกู้ที่เหลือออกจากบัญชี
                                                  1.2.3.3 เครดิตเงินสด ด้วยจ านวนหุ้นกู้ที่ไถ่ถอนคูณด้วยราคาไถ่ถอน
                                                  1.2.3.4 ผลต่างที่เกิดขึ้นระหว่างยอดรวมด้านเดบิตกับยอดรวมด้านเครดิต ถ้า

                       ผลต่างมียอดด้านเครดิตจะบันทึกบัญชีก าไรจากการไถ่ถอนหุ้นกู้ แต่ถ้าผลต่างมียอดทางด้านเดบิตจะ
                       บันทึกบัญชีขาดทุนจากการไถ่ถอนหุ้นกู้

                       2. ไถ่ถอนหุ้นกู้เป็นงวด
                       การไถ่ถอนหุ้นกู้เป็นงวดๆ นั้น ในใบหุ้นกู้จะระบุเป็นชนิดไถ่ถอนหุ้นกู้คืนเป็นงวดๆ งวดละเท่าๆ กัน

                       ซึ่งจะมีผลกระทบต่อการตัดส่วนเกินมูลค่าหุ้นกู้หรือส่วนต่ ามูลค่าหุ้นกู้ เนื่องจากจ านวนเงินต้นจะ
                       ลดลงทุกปี ดอกเบี้ยจ่ายของหุ้นกู้จะลดลงตามเงินต้นด้วย ดังนั้นในการตัดส่วนเกินมูลค่าหุ้นกู้หรือส่วน
                       ต่ ามูลค่าหุ้นกู้ จึงต้องเฉลี่ยตัดตามจ านวนดอกเบี้ยที่ลดลง ตามอัตราส่วนจนครบอายุของหุ้นกู้ ในการ

                       ปฏิบัติมี 2 วิธี คือ วิธีหุ้นกู้ค้างช าระ และวิธีดอกเบี้ยทบต้น ในที่นี้จะอธิบายเฉพาะวิธีหุ้นกู้ค้างช าระ
                       ส่วนวิธีดอกเบี้ยทบต้นจะศึกษาในวิชาการบัญชีชั้นกลางต่อไป ในการบันทึกบัญชีการไถ่ถอนหุ้นกู้เป็น
                       งวดๆ























                                                            ~ 77 ~
   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86