Page 78 - เนื้อหา
P. 78

จ าหน่ายราคาต่ ากว่ามูลค่าหุ้นกู้
                           เดบิต เงินสด                                            XXX
                                  ส่วนต ามูลค่าหุ้นกู้                               XXX
                                      เครดิต หุ้นกู้                                           XXX

                                               ดอกเบี้ยค้างจ่าย/ตอกเบี้ยจ่าย             XXX
                           บันทึกการจ าหน่ายหุ้นกู้

                                   3.2 วันที่จ่ำยดอกเบี้ย บริษัทจะต้องก าหนดงวดของการจ่ายดอกเบี้ย จะเป็นปีละครั้ง

                       หรือ 2 ครั้งก็ได้แล้วแต่จะก าหนด ในการบันทึกบัญชีจะปฏิบัติเหมือนกับลักษณะการจ าหน่ายหุ้นกู้
                       ไม่ตรงกับงวดบัญชีแต่ตรงกับงวดดอกเบี้ย ทุกรายการ เพียงแต่ระยะเวลาที่จ่ายดอกเบี้ยจะไม่ครบ
                       ตามอายุของหุ้นกู้ เนื่องจากได้มีการจ าหน่ายหุ้นกู้หลังวันจดทะเบียน ดังนั้นระยะเวลาที่จ่ายดอกเบี้ย
                       จะเท่ากับระยะเวลาอายุหุ้นกู้ หัก ระยะเวลาที่ขายหลังวันจดทะเบียน เช่น บริษัทได้ท าการจด

                       ทะเบียน
                       หุ้นกู้ 1 มีนาคม 25X1 หุ้นกู้มีอายุ 5 ปี จะครบก าหนดไถ่ถอน 1 มีนาคม 25X6 ซึ่งได้น าออกจ าหน่าย
                       1 พฤษภาคม 25X1 ระยะเวลาอายุ 5 ปี เท่ากับ 60 เดือน ได้น าออกจ าหน่ายหลังวันที่จดทะเบียน

                       2 เดือน ดังนั้นอายุการจ่ายดอกเบี้ยคงเหลือ 58 เดือน (60-2)

                                   3.3 วันที่ตัดส่วนเกินมูลค่ำหุ้นกู้หรือส่วนต่ ำมูลค่ำหุ้นกู้ ในการบันทึกบัญชีนั้นจะ
                       ปฏิบัติเหมือนกับลักษณะการจ าหน่ายหุ้นกู้ไม่ตรงกับงวดบัญชี แต่ตรงกับงวดการจ่ายดอกเบี้ย แตก
                       ต่างตรงระยะเวลาใช้ในการตัดส่วนเกินมูลค่าหุ้นกู้หรือส่วนต่ ามูลค่าหุ้นกู้ ซึ่งมีเวลาไม่ครบตามอายุ

                       ของหุ้นกู้ โดยยึดหลักตามระยะเวลาของการจ่ายดอกเบี้ย เช่น อายุหุ้นกู้ 5 ปี หรือนับเป็นเดือนจะ
                       ได้ 60 เดือน จ าหน่ายหลังวันจดทะเบียน 4 เดือน อายุการจ่ายดอกเบี้ยจะเท่ากับ 56 เดือน (60-4)
                       ดังนั้นอายุของการตัดส่วนเกินมูลค่าหุ้นกู้หรือส่วนต่ ามูลค่าหุ้นกู้จะเท่ากับ 5 ปี


                       ข้อสังเกต
                               1. ระยะเวลาที่ตัดส่วนเกินมูลค่าหุ้นกู้หรือส่วนต่ ามูลค่าหุ้นกู้จะเท่ากับระยะเวลาที่ต้องจ่าย
                       ดอกเบี้ย 57 เดือน (อายุ 60 เดือน หัก ขายหลัง 3 เดือน)

                               2. การตัดส่วนเกินมูลค่าหุ้นกู้หรือส่วนต่ ามูลค่าหุ้นกู้งวดแรกจะต้องเริ่มตั้งแต่วันที่จ าหน่าย
                       จนถึงวันสิ้นงวด แต่ถ้าเป็นวิธีที่ตัดทุกครั้งที่บันทึกดอกเบี้ยจ่าย ระยะเวลาที่ตัดจะเริ่มตั้งแต่วันที่
                       จ าหน่ายจนถึงวันที่จ่ายดอกเบี้ยงวดแรก
                               จากตัวอย่างการบันทึกบัญชีในลักษณะจ าหน่ายหุ้นกู้ไม่ตรงกับงวดบัญชีและไม่ตรงกับงวด

                       ดอกเบี้ยนั้น จะเห็นได้ว่าวันที่จ าหน่ายสามารถที่จะบันทึกดอกเบี้ยที่ไม่ถือเป็นค่าใช้จ่ายของบริษัท
                       จ านวน 9,000 บาท ไว้ในบัญชีดอกเบี้ยจ่ายทางด้านเครดิต และจะเป็นผลให้วันที่จ่ายดอกเบี้ยงวด
                       แรก บันทึกแตกต่างไปจากตัวอย่างข้างบน ซึ่งสามารถแสดงการบันทึกบัญชีได้ดังนี้




                                                            ~ 74 ~
   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83