Page 155 - คู่มือการเขียนวิจัยและการอ้างอิง
P. 155

152




                (กรณีที่เปนบทนิพนธฉบับภาษาอังกฤษ  แตตองการเสนอบทคัดยอภาษาไทย  ใหใชรูปแบบ

               เดียวกับบทคัดยอภาษาไทยของวิทยานิพนธ)


               ชื่อเรื่อง             ผลกระทบของสภาพแวดลอมในการดําเนินงานภายใตยุคโลกาภิวัตนที่มีตอ
                           การเปลี่ยนแปลงองคกรของธุรกิจสงออกผลิตภัณฑดานการเกษตร
                           ในประเทศไทย
               ผูวิจัย               นางสาวอรวรรณ  วิมลสุข

               กรรมการควบคุม    รองศาสตราจารย  ดร.ปพฤกษ  อุตสาหะวาณิชกิจ
                           และอาจารย  ดร.ธนชาติ  เราประเสริฐ
               ปริญญา            บธ.ม.      สาขาวิชา    การจัดการเชิงกลยุทธ

               มหาวิทยาลัย       มหาวิทยาลัยมหาสารคาม      ปที่พิมพ    2552

                                                     บทคัดยอ


                       ในยุคที่เศรษฐกิจ  การเมือง  เทคโนโลยี  สังคมและวัฒนธรรมเชื่อมโยงกันเสมือนเปนโลกที่ไร
               พรมแดน  (Boundary-Less)  หรือที่เรียกกันวาโลกในยุคโลกาภิวัตน  ธุรกิจสงออกผลิตภัณฑดาน
               การเกษตรตองเผชิญกับสภาพแวดลอมในการทํางานที่ตางไปจากอดีต  ทําใหธุรกิจพยายามปรับตัวและ
               หาแนวทางในการเปลี่ยนแปลงองคกร  เพื่อใหองคกรสามารถยืนอยูในตลาดการคาระหวางประเทศและ

               มีศักยภาพในการแขงขันกับคูคาอื่นๆ  ได  ดังนั้น  ผูวิจัยจึงสนใจศึกษาผลกระทบของสภาพแวดลอมใน
               การดําเนินงานภายใตยุคโลกาภิวัตนที่มีตอการเปลี่ยนแปลงองคกรของธุรกิจสงออกผลิตภัณฑดาน
               การเกษตรในประเทศไทย  โดยทําการเก็บรวบรวมขอมูลจากผูบริหารธุรกิจสงออกผลิตภัณฑดาน
               การเกษตรในประเทศไทย  จํานวน  257    คน  โดยใชวิธีการสุมตัวอยางแบบชั้นภูมิ  และใช

               แบบสอบถามเปนเครื่องมือ  สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล  ไดแก  F-test  การวิเคราะหสหสัมพันธ
               และการวิเคราะหการถดถอยแบบพหุคูณ
                       ผลการวิจัยพบวา  ผูบริหารธุรกิจสงออก  มีความคิดเห็นดวยเกี่ยวกับการมีสภาพแวดลอมใน

               การดําเนินงานภายใตยุคโลกาภิวัตนโดยรวม  อยูในระดับมาก  เมื่อพิจารณาเปนรายดาน  อยูในระดับ
               มาก  ไดแก  ดานความหลากหลายของผลิตภัณฑ  ดานการเปลี่ยนแปลงมาตรฐานของวัตถุดิบ  ดานการ
               เพิ่มขึ้นของการแขงขันระดับโลก  ดานการเพิ่มขึ้นของการสนับสนุนทางเทคโนโลยี  และดานการ
               เปลี่ยนแปลงระดับทักษะของผูปฏิบัติงาน  และอยูในระดับปานกลาง  ไดแก  ดานความยากในการ
               ประเมินความตองการของตลาด  และดานความยากในการกระจายสินคา  ผูบริหารธุรกิจสงออก  มี

               ความคิดเห็นดวยเกี่ยวกับการมีการเปลี่ยนแปลงองคกรโดยรวมและเปนรายดานทุกดาน  อยูในระดับ
               มาก  ไดแก  ดานการเนนการทํางานเปนทีม  ดานการสรางเครือขาย  และดานการกระจายอํานาจใน
               การควบคุม-สั่งการ












               คูมือการเขียนบทนิพนธ
   150   151   152   153   154   155   156   157   158   159   160