Page 33 - คู่มือการเขียนวิจัยและการอ้างอิง
P. 33

26


                                                      บันทึกทายบท



                      1 ตาแฮก  คือ  ผีผูทําหนาที่พิทักษรักษาไรนา ชาวอีสานบางแหงจะทําการเลี้ยงตาแฮกกอนการหวานไถ
              ทุกครั้ง  โดยจะนําเอาไกตมและอาหารคาวหวานไปเลี้ยงที่มุมใดมุมหนึ่งของที่นาเพื่อ   ตาแฮกจะไดชวยใหฝนตก

              ตองตามฤดูกาล  วัวควายปราศจากโรคภัยไขเจ็บ  และขาวกลาในนา งอกงามดี
                      2 เคียด  หมายถึง  โกรธ

                      3 ไง  หมายถึง  ฝุนฟุงกระจาย


                        2. การอางอิงอยูตอนลางของหนา  ซึ่งเรียกวา  เชิงอรรถ (Footnote Style) ใชมากและพบมากใน

              งานวิจัยสายมนุษยศาสตร
                           2.1 เชิงอรรถจะอยูตอนลางของเนื้อเรื่องในแตละหนา  โดยมีเสนกั้นระหวางเนื้อเรื่องกับเชิงอรรถ
                           2.2 เสนดังกลาว  ขีดเสนทึบกลางบรรทัดจากขอบซายมาประมาณครึ่งหนา  และหางจากบรรทัด

              สุดทายของเนื้อเรื่อง 1 ชวงบรรทัดพิมพ  ตัวเชิงอรรถจะหางจากเสนนี้  1 ชวงบรรทัดพิมพ
                           2.3 บรรทัดแรกของเชิงอรรถแตละรายการจะยอหนา  โดยเวนระยะ  1.5  เซนติเมตร  หากพิมพ

              รายละเอียดไมหมดในบรรทัดเดียว  บรรทัดตอไปใหพิมพชิดขอบซาย
                           2.4 ตัวเลขกํากับเชิงอรรถใหยกสูงขึ้นเหนือพยัญชนะ  โดยพิมพกอนอักษรตัวแรกของเชิงอรรถ
                           2.5 เชิงอรรถภาษาอังกฤษที่มากกวา  1  บรรทัด  ใหพิมพเวนระยะบรรทัดหางกัน  1 ชวงบรรทัด

              พิมพเดียว
                           2.6 เชิงอรรถแตละรายการตองพิมพใหหางกัน  1  ชวงบรรทัดพิมพ

                           2.7 การใชเลขกํากับเชิงอรรถ  ใหใชหมายเลขกํากับจากหมายเลข 1 ตอเนื่องกันไปจน จบหนา เมื่อ
              ขึ้นหนาใหมใหใชหมายเลข  1  กํากับใหมตอเนื่องกันไปจนจบหนา
                           2.8 เชิงอรรถและคําชี้แจงในเชิงอรรถตองอยูในหนาเดียวกันกับอัญประภาษ และ ขอความในเนื้อ

              เรื่องที่เชิงอรรถและคําชี้แจงกลาวถึง
                           2.9 วัสดุทุกชิ้นที่กลาวไวในเชิงอรรถตองปรากฏในบรรณานุกรมทายเลม

                           2.10 การเขียนเชิงอรรถประกอบดวย  ชื่อผูแตง  ชื่อหนังสือ  ปที่พิมพ และหนาที่อางอิง โดยวาง
              รูปแบบดังนี้ (เครื่องหมาย / หมายถึงเวนระยะ  2  เคาะ, // เครื่องหมาย // หมายถึง เวนระยะ 4 เคาะ)


                             1  ชื่อ/นามสกุล.//ชื่อหนังสือ.//ปที่พิมพ.//เลขหนาที่อางอิง.



                           2.11 สวนของผูแตงมีขอพิจารณาดังนี้
                                2.11.1  ลงชื่อผูแตงทั้งหมดไมเกิน  3  คน หากมีผูแตงมากกวา 3 คน ใหลงชื่อผูแตงคนแรก
              ที่ปรากฏในเอกสารนั้น ๆ  แลวตามดวยคําวา “และคนอื่น ๆ” หรือ “และคณะ”  อยางใดอยางหนึ่งตลอดทั้งเลม

              สําหรับภาษาอังกฤษใหใช  “and others”
                              2.11.2   การลงชื่อผูแตงใหลงชื่อ  นามสกุล  ตามลําดับ  หากผูแตงมีบรรดาศักดิ์  ยศหรือ

              ฐานันดรศักดิ์  ใหลงนําหนาชื่อผูแตง และถาผูแตงเปนหนวยงานก็ใหลงชื่อหนวยงานนั้นเปน ผูแตง  โดยลงฐานะ
              หนวยงานนําหนาชื่อหนวยงาน



               คูมือการเขียนบทนิพนธ
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38