Page 32 - คู่มือการเขียนวิจัยและการอ้างอิง
P. 32

25



                                                        เปาหมายของการศึกษา



                                                               วัตถุประสงคของราย




                                                               เนื้อหา




                                ประเมินผล                                            วิเคราะหเนื้อหา



                                 สอบ


                                 สอน

                                                                                    ออกแบบบทเรียน



                  ที่มา  :  ทักษิณา  สวนานนท  (2530  :  221)
                                        ภาพประกอบ  4  แผนภูมิวิธีการสรางบทเรียนคอมพิวเตอร



                              1.16 การอางอิงที่ไดจากการสัมภาษณ ใหใชรูปแบบดังนี้


                                 (ชื่อผูใหสัมภาษณ.//ปที่ใหสัมภาษณ : สัมภาษณ)  ดังตัวอยาง

                                    …  (มี  ภูเขาใหญ.    2530  :  สัมภาษณ)


                              1.17  ถาจําเปนตองมีการอางอิงแบบอธิบายเพิ่มเติม ใหใสหมายเลขกํากับทายขอความตามแบบ
                  การทําเชิงอรรถ แลวอธิบายเพิ่มเติมไวที่ทายบท  โดยตอนทายของแตละบทใหมีคํา “บันทึกทายบท”  ไวกลาง

                  หนากระดาษ แลวเวน  2  ระยะบรรทัดพิมพ  จึงพิมพคําอธิบาย เพิ่มเติม  เรียงไปตามลําดับหมายเลขที่กํากับไว
                  ในเนื้อเรื่อง  หมายเลขที่กําหนดไวในเนื้อเรื่องตองตรงกันกับหมายเลขในบันทึกทายบทและใหพิมพหางจากขอบ
                  ซาย  1.5  เซ็นติเมตร  หากมีขอความมากกวา 1  บรรทัด  บรรทัดตอไปใหพิมพชิดขอบซาย  ดังตัวอยาง













                                                                                         คูมือการเขียนบทนิพนธ
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37