Page 27 - คู่มือการเขียนวิจัยและการอ้างอิง
P. 27

20


                          3.1  ppendix”  หรือ  “Appendices (กรณีที่แบงภาคผนวกออกเปนหลายเรื่อง)”   ใหปฏิบัติเชน
              เดียวกับ  “บรรณานุกรม”   คือใหพิมพชิดขอบซายและเวนระยะหางจากบรรณานุกรม  1  บรรทัดพิมพ

                          3.2 ถาภาคผนวกมีหลายเรื่องหลายตอนใหใชอักษร  ก  ข  ค ...  หรือ  A  B  C ...  ดังตัวอยาง
              ภาคผนวก  ก,  ภาคผนวก  ข  หรือ  Appendix  A,  Appendix  B  กํากับภาคผนวกตามลําดับและมีหัวขอเรื่อง

              กํากับภาคผนวกทุกเรื่องโดยวางหัวขอเรื่องใหอยูกึ่งกลางหนากระดาษใตคํา  “ภาคผนวก”  ลงมาเปนระยะ  1  ชวง
              บรรทัดพิมพ  ภาคผนวกแตละตอนจะตองมีหนาบอกตอนระบุหัวขอเรื่องของภาคผนวกตอนนั้น ๆ  ไวดวย
                           3.3 ถาหัวขอเรื่องยาวมากใหแบงเปน  2  หรือ  3  บรรทัด  และใหวางแบบสามเหลี่ยมหนาจั่วหัว

              กลับเชนเดียวกันกับการพิมพชื่อเรื่องในหนาปกใน
                           3.4 ดูตัวอยางในภาคผนวก  หนา  111,  141  และ  165



                        4. อภิธานศัพท  เปนสวนที่ผูวิจัยรวบรวมคําศัพทตาง ๆ ที่ใชในบทนิพนธ มาจัดเรียงตามลําดับ
              ตัวอักษรของคําศัพท แลวอธิบายความหมายของคําศัพทเอาไว  เพื่อใหผูอานเขาใจ ความหมายของคําศัพทเหลา

              นั้นตรงกับที่ผูวิจัยใช  ถาคําศัพทที่ตองการอธิบายมีนอยไมจําเปนตองมีอภิธานศัพท  ผูวิจัยอาจอธิบายความหมาย
              ของคําศัพทไวทายหนาหรือในบันทึกทายบทก็ได

                           4.1 กอนถึงหนาอภิธานศัพทตองมีหนาบอกตอนที่มีขอความ “อภิธานศัพท  หรือ  Glossary” อยู
              กึ่งกลางหนากระดาษ
                          4.2 หนาแรกของอภิธานศัพทตองมีคําวา “อภิธานศัพท หรือ Glossary” อยูตรงกึ่งกลางหนา

              กระดาษหางจากริมกระดาษดานบน 3.5 เซนติเมตร
                           4.3 ควรจัดเรียงศัพทไวตามลําดับตัวอักษรเพื่อสะดวกแกการคนหา



                        5.  ประวัติยอของผูวิจัย (สําหรับวิทยานิพนธ) และประวัติยอของผูศึกษา (สําหรับการศึกษาคนควาอิสระ)
                          5.1 กอนถึงหนาประวัติของผูวิจัย หรือผูศึกษา ตองมีหนาบอกตอนที่มีขอความ “ประวัติยอของ

              ผูวิจัย” หรือ “ประวัติยอของผูศึกษา” อยูกึ่งกลางหนากระดาษ
                           5.2 หัวขอและรายละเอียดในการเขียนประวัติของผูวิจัย หรือผูศึกษาใหใชตามตัวอยาง ดังนี้



              ชื่อ                        ระบุคํานําหนานาม เชน  นาย  นาง  นางสาว  ยศ  และ ฐานันดรศักดิ์ ดวย
              วันเกิด                       บอกวัน  เดือน  ปเกิด

              สถานที่เกิด                  ระบุ  อําเภอ จังหวัด
              สถานที่อยูปจจุบัน         บอกที่อยูปจจุบันโดยละเอียด  พรอมทั้งหมายเลขโทรศัพท (ถามี)

              ตําแหนงหนาที่การงาน    ระบุตําแหนงหนาที่การงานในปจจุบัน
              สถานที่ทํางานปจจุบัน   ระบุสถานที่ทํางานอยางละเอียด  ที่สามารถติดตอได
              ประวัติการศึกษา          ระบุปที่สําเร็จการศึกษา  โดยเรียงจาก  ระดับมัธยมศึกษาและอุดมศึกษา

                                 ระบุชื่อเต็ม วุฒิที่ไดรับ  (กรณีระดับอุดมศึกษาใหระบุวงเล็บชื่อยอของ
                                 ประกาศนียบัตรและปริญญา ตอดวยสาขาวิชาเพิ่ม) และสถาบัน

                                 ที่สําเร็จการศึกษา
                           5.3 ดูตัวอยางในภาคผนวก ก หนา  139-140 และ  ภาคผนวก ข หนา  163-164



               คูมือการเขียนบทนิพนธ
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32