Page 26 - คู่มือการเขียนวิจัยและการอ้างอิง
P. 26

19


                                 2.3.4 ระหวางชื่อภาพประกอบกับตัวภาพใหเวนหางกัน 1 ชวงบรรทัดพิมพ หากชื่อภาพ
                  ประกอบยาวเกิน  1  บรรทัดใหขึ้นบรรทัดใหม  และพิมพตรงกับอักษรตัวแรกของชื่อภาพประกอบ ตําแหนงชื่อ

                  ภาพประกอบจะจัดกึ่งกลาง หรือชิดขอบญซายอยางใดอยางหนึ่ง แตตองเหมือนกันทุกภาพประกอบ
                                 2.3.5 เลขลําดับของภาพประกอบใหใชหลักการเดียวกับเลขตาราง แตใหใชตัวเลขคนละชุด

                                 2.3.6 ดูตัวอยางในภาคผนวก ก หนา  138 และ  ภาคผนวก ข หนา  162
                              2.4 การอางอิงแทรกในเนื้อหา คือการระบุแหลงที่มาของคําหรือขอความในตัวเรื่องทั้งที่ประมวล
                  ความคิดและคัดลอกมาโดยตรง

                                  *  การอางอิงแทรกในเนื้อหาในการเขียนบทนิพนธ  กลุมมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร  นิสิต
                  สามารถเลือกใชรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งในบทที่ 3, บทที่ 4 และบทที่  5  (หากนิสิตเลือกรูปแบบใดตองพิมพรูปแบบ

                  เดียวกันทั้งเลม)


                  สวนประกอบตอนทาย



                         สวนประกอบตอนทาย  ประกอบดวย  5  สวน  เรียงตามลําดับดังนี้



                            1. หนาบอกตอน
                              1.1 หนาบอกตอนเปนหนาที่มีเพียงหัวขอเรื่องอยูกลางหนากระดาษ เชน หนาบอกตอนของ

                  บรรณานุกรมจะมีคําวา “บรรณานุกรม” ปรากฏอยูในหนาบอกตอน หนาบอกตอนนี้จะอยูกอนสวนตาง ๆ ที่เปน
                  สวนประกอบตอนทาย ในกรณีที่ภาคผนวกมีหลายเรื่อง และใหแบงภาคผนวกออกเปนภาคผนวก  ก  ข  ค ...  หนา

                  บอกตอนก็จะมีตามไปดวย ภาคผนวกแตละตอนตองมีหนาบอกตอนกํากับพรอมกับระบุเรื่องของภาคผนวกนั้น ๆ
                  ไวดวย
                             1.2  หนาบอกตอนที่มีชื่อเรื่องยาวเกิน  1 บรรทัด ใหจัดชื่อเรื่องเปนสามเหลี่ยมหนาจั่วหัวกลับ

                  ดูตัวอยางในภาคผนวก  หนา  105,  111,  141  และ  165



                            2.  บรรณานุกรม คือรายการวัสดุสารนิเทศทุกประเภทที่ผูวิจัยบทนิพนธใชศึกษา คนควาประกอบ
                  การทําบทนิพนธ รายการวัสดุทุกรายการที่ปรากฏในการอางอิงในตัวเรื่องจะตองปรากฏในบรรณานุกรม ผูวิจัย
                  บทนิพนธจะตองระวังไมอางชื่อวัสดุสารนิเทศที่มีเนื้อหา ไกลจากเนื้อเรื่องหรือหัวขอที่เขียน

                              *  การเขียนและการพิมพในการเขียนบทนิพนธ กลุมมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร นิสิตสามารถ
                  เลือกใชรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งในบทที่ 3, บทที่ 4  และบทที่ 5 (หากนิสิตเลือกรูปแบบใดตองพิมพรูปแบบ

                  เดียวกันตลอดทั้งเลม)


                            3. ภาคผนวก  คือสวนที่เกี่ยวของกับบทนิพนธแตไมใชเนื้อหาของบทนิพนธ ซึ่งผูวิจัยบทนิพนธนํามา

                  เพิ่มเติมขึ้นในตอนทายของบทนิพนธ ดวยความมุงหวังวาจะทําใหผูอานเขาใจใน เนื้อหาของบทนิพนธอยางแจมแจง
                  รวมทั้งทําใหเนื้อหาในบทนิพนธมีความสมบูรณยิ่งขึ้น ตัวอยางเชนภาคผนวกในบทนิพนธ มักจะนําเอาเครื่องมือ

                  ที่ใชในการวิจัย  เชนแบบสอบถาม  แบบทดสอบ เปนตน  มาลงไวในภาคผนวก





                                                                                         คูมือการเขียนบทนิพนธ
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31