Page 160 - sadasd
P. 160
ุ
1.2.3 หน่วยเอาท์พุท ท าหน้าที่รับสภาวะหรือคาสั่งควบคมที่ได้จากการประมวลผล
ของไมโครโปรเซสเซอร์ แล้วส่งสัญญาณไฟฟ้าออกไปควบคุมอุปกรณไฟฟ้าให้ท างานตามเป้าหมายที่ก าหนดไว ้
์
ในเงื่อนไข เช่น ขับวาล์วไฟฟ้า คอนแทคเตอร์ และหลอดไฟสัญญาณ
รูปที่ 5.8 หน่วยเอาท์พุท
ั
ุ
ั
ี
5) ควำมส ำคญของกำรควบคม (ดวงเด่น สามนาคและวรภทร ปริชมน.โปรแกรม
เมเบิ้ลคอนโทรลเลอร์, 2554)
่
ึ้
ั
ในปัจจุบันนี้การแขงขนทางด้านอุตสาหกรรมมีมากขน ทุกขณะ การด าเนินการผลิตจ าเป็นต้อง
้
ค านึงถึงประสิทธิภาพและประสิทธิผลของโรงงาน ซึ่งสามารถแสดงได้ดวย ต้นทุนการผลิต คุณภาพมาตรฐาน
ความปลอดภย มลภาวะ ความสามารถในการปรับอัตราการผลิตให้สอดคล้องกับภาวะของตลาด ฯลฯ
ั
ทางด้านเทคนิคเป้าหมายดังกล่าวจะบรรลุวัตถุประสงค์นั้นจะต้องอาศัย การตรวจวัด การควบคมอย่างต่อเนื่อง
ุ
สม่ าเสมอ ประสิทธิภาพในการผลิตจะดีได้ตองเริ่มต้นจากการออกแบบการติดตงอุปกรในระบบควบคุมต่างๆ
้
ั้
ในโรงงานอย่างถกต้องตามหลักวชาการและในขณะเดียวกันพนักงานต้องหมั่นบ ารุงรักษา สอบเทียบ
ู
ิ
และปรับปรุง ปรับแต่งอุปกรณ์อย่างสม่ าเสมอ
ดังนั้นในปัจจุบันโรงงานสมัยใหม่จึงได้น าเอาเครื่องควบคมแบบอัตโนมัติมาใชงาน เครื่องควบคม
้
ุ
ุ
ุ
แบบอัตโนมัติจะท าหน้าที่หลักในการคานวณหาสัญญาณควบคุมที่เหมาะสม โดยที่การควบคมจะเป็นไปตาม
ุ
กฎเกณฑ์ของการควบคมที่พนักงานได้ก าหนดไว้ล่วงหน้าแล้ว ระบบการควบคมแบบอัตโนมัติมีมากมายหลาย
ุ
รูปแบบ ตั่งแต่แบบง่ายๆ ไปจนถงแบบซับซ้อนมากๆ การเลือกหรือการพิจารณาการใชงานจะขนอยู่กับ
ึ้
้
ึ
ขีดความสามารถของการควบคุมและราคาของอุปกรณ์นั้นๆ
์
6) องคประกอบของกำรควบคุม (ดวงเด่น สามนาคและวีรภัทร ปริชมน.โปรแกรมเมเบิล
คอนโทรลเลอร์, 2554)
การควบคมในงานอุตสาหกรรมในรูปแบบที่แตกต่างกันออกไปนั้น จะมีองคประกอบหลักๆ
ุ
์
ที่มีความส าคัญและมีความคล้ายคลึงกันดังต่อไปนี้
รูปที่ 5.9 องค์ประกอบของการควบคุม
ที่มา :ดวงเด่น สามนาค และวรภัทร ปริชม.โครงการสอนวิชาโปรแกรมเมเบิ้ลคอนโทรลเลอร์
ี
32025301 การควบคุมไฟฟ้าและนิวแมติก